ก. ทำท่าเจ้าชู้ เช่น ห่มเพลาะกรูมกรอกรุยฉุยเฉิดฉัน (มณีพิชัย).
(กฺรุย) น. หลักที่ปักรายไว้เป็นเครื่องหมาย เช่น ปักกรุย.
(กฺรุย) ก. ใช้เครื่องมือหรืออุปกรณ์ เช่นจอบ เสียม หรือแทรกเตอร์ เปิดทางถางทางเพื่อเป็นแนวไว้, เป็นแนวไว้ เช่น กรุยทาง
โดยปริยายหมายความว่า เปิดทางให้สะดวก.
(กฺรุย) ว. ทำทีท่าเจ้าชู้ เช่น ห่มเพลาะกรูมกรอกรุยฉุยเฉิดฉัน (มณีพิชัย).
(-กฺราย) ว. อาการที่เดินทำทีท่าเจ้าชู้
ในบทกลอนใช้ว่า กรายกรุย ก็มี เช่น อย่านุ่งลายกรายกรุยทำฉุยไป (สุภาษิตสุนทรภู่).
(กฺรุยเกฺรียว) ว. เกรียวกราว เช่น แสรกเสียงกรุยเกรียว (ดุษฎีสังเวย).
(คฺรุย) น. ชายผ้าที่ทำให้รุ่ยเป็นเส้น ๆ, ชายครุย ก็ว่า
ชื่อเสื้อจำพวกหนึ่ง ใช้สวมหรือคลุม มีหลายชนิด ใช้เป็นเครื่องประกอบเกียรติยศหรือแสดงหน้าที่ในพิธีการหรือแสดงวิทยฐานะ.
น. ชายผ้าที่ทำให้รุ่ยเป็นเส้น ๆ, ครุย ก็ว่า.
(ตฺรุย) น. กรุย เช่น ถ้าแลหมีได้มีตรุยปัก ให้ไหม ๓ รอย รอยละ ๓๓๐๐๐ (สามดวง).
(รุกฺ-) ว. รุงรัง, กระจุยกระจาย, ไม่น่าดู, เช่น บ้านช่องรุกรุย เสื้อผ้ารุกรุย
น. เสื้อชนิดหนึ่ง มีหลายแบบ ใช้สวมหรือคลุม เป็นเครื่องประกอบเกียรติยศหรือแสดงหน้าที่ในพิธีการหรือแสดงวิทยฐานะ.
ก. สวมเสื้อครุยโดยสวมเฉพาะแขนซ้าย เอาแขนเสื้อข้างขวาซึ่งห้อยอยู่ข้างหลังสอดรักแร้ขวาขึ้นมาแล้วตวัดพาดบนไหล่ซ้าย.
(กฺรูม) ว. กรอม, คลุม, เช่น ห่มเพลาะกรูมกรอกรุยฉุยเฉิดฉัน (มณีพิชัย).
(ทด, ทะสา) น. ชายผ้า, ชายครุย.
(ทะ-) น. ชายผ้า, ชายครุย.
(ปัดตะหฺล่า) น. ผ้าริ้วทอด้วยไหมกับทองแล่งมีเนื้อบาง โดยมากทำเป็นเสื้อครุย.
ก. ทำพิธีเอายอดเมรุยอดปราสาทขึ้น
น. เรียกย่ามขนาดใหญ่ชนิดหนึ่งมีครุยที่มุมล่างว่า ย่ามละว้า.
น. เครื่องตกแต่งขอบต้นแขน และปลายแขนเสื้อครุย ปักด้วยดิ้น เงินแล่ง ทองแล่ง เป็นลวดลายต่าง ๆ
(แสก) ก. ร้อง เช่น แสรกเสียงกรุยเกรียว (ดุษฎีสังเวย).