371 ผลลัพธ์ สำหรับ 

*รังสี*

 ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น: รังสี, -รังสี-
Longdo Unapproved TH - EN**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
greenhouse effect
ปรากฏการณ์เรือนกระจก ภาวะที่กลุ่มของก๊าซชนิดต่างๆมาห่อหุ้มชั้นบรรยากาศของโลกไว้ กลุ่มก๊าซเหล่านี้ประกอบด้วยก๊าซหลักๆ 5 ชนิด ได้แก่ คาร์บอนไดออกไซด์ สารซีเอฟซี ออกไซด์ของไนโตรเจน มีเธนและโอโซน ก๊าซเหล่านี้เป็นองค์ประกอบส่วนหนึ่งของบรรยากาศโลกที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ และเป็นกลุ่มก๊าซที่มีความสามารถในการดูดซับรังสีความร้อนจากดวงอาทิตย์ เป็นผลให้อุณหภูมิโลกสูงขึ้นจนเหมาะที่สิ่งมีชีวิตต่างๆจะอาศัยอยู่ได้
นักรังสีเทคนิค
(n, uniq)Radiological technologist, Radiographer, Medical radiation technologist
Longdo Unapproved MED - TH**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
PET Scan
(n, vt)PET Scan ย่อมาจาก Positron Emmision Tomography เป็นเครื่องมือใหม่ที่ใช้เพื่อ ตรวจหาการกระจายและปริมาณความผิดปกติของสารเภสัชรังสีโพสิตรอน ทำให้ข้อมูลที่ได้จาก PET มีความแตกต่างจากเครื่องมืออื่นๆ ซึ่งเรารู้จักกันดี เช่น การตรวจด้วย ultrasound, CT และ MRI ที่ส่วนใหญ่จะแสดงเพียงลักษณะการเปลี่ยนแปลงทางกายวิภาค การตรวจด้วย PET เป็นการถ่ายภาพการกระจายตัวของสารเภสัชรังสีที่สลายตัวให้โพสิตรอน (positron) สารเภสัชรังสีเหล่านี้จะสัมพันธ์และแสดงถึงขบวนการชีววิทยาต่างๆ ในร่างกาย ทำให้เราสามารถตรวจขบวนการเผาผลาญ (metabolism) ของเซลล์ได้ หลักการของเครื่องตรวจนี้คือ ใช้้ในการตรวจหาเซลล์ที่มีเมตะบอลลิสม์ผิดปกติ เป็นการตรวจหาการทำงานของเซลล์และผ่านกลวิธีทำให้ออกมาเป็นรูปให้เราเห็น ในการตรวจมะเร็งปอดเราใช้น้ำตาล เมื่อเราทำให้น้ำตาลนั้นจับกับสารกัมมันตภาพ (Glucose 2-fluoro-2-deoxy-D-glucose หรือ FDG) ฉีดเข้าไปในเลือด เซลล์ไหนที่มีเมตะบอลลิสม์สูงจะใช้น้ำตาลมาก เช่น เซลล์ของมะเร็ง เซลล์ไหนที่ตายหรือมีเมตะบอลลิสม์ต่ำจะใช้น้ำตาลน้อย เมื่อใช้ Radiotracer จับปริมาณกัมมันตภาพ เราจะพบว่าก้อนมะเร็งนั้นมีกัมมันตภาพสูงกว่าเนื้อธรรมดาและใช้ตรวจทั้งตัว ก็ได้
NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
(n)radioactivitySee Also:radiation, ray, lightExample:จากการตรวจวัดรังสีพบว่า จำนวนปริมาณรังสีแพร่กระจายออกมามีขนาดไม่อยู่ในเกณฑ์ที่จะเป็นอันตรายNotes:(บาลี/สันสกฤต)
(v)treat by radiationSyn.ฉายแสง, รังสีรักษาExample:การรักษาผู้ป่วยด้วยกรรมวิธีฉายรังสีสามมิติ เป็นการรักษามะเร็งแบบพิเศษ ต่างจากการรักษาด้วยวิธีฉายแสงแบบธรรมดา
(v)radiateThai Definition:กระจายหรือขยายรังสีออกไป
(n)beta rayNotes:(อังกฤษ)
(n)radiologyThai Definition:วิทยาศาสตร์ที่ว่าด้วยรังสีเอกซ์และกัมมันตภาพรังสีรวมทั้งการใช้รังสีวิเคราะห์และรักษาโรคNotes:(อังกฤษ)
(n)alpha rayNotes:(อังกฤษ)
(n)radiologistExample:เขาได้รับการอบรมให้เป็นรังสีแพทย์ประจำศูนย์บริการชุมชนThai Definition:แพทย์ที่วิเคราะห์และรักษาโรคโดยใช้ความรู้ทางรังสีวิทยา
(n)cosmic raysExample:เราส่งดาวเทียมออกไปวนรอบโลกเพื่อวัดอุณหภูมิ รังสีคอสมิก และสนามแม่เหล็กรอบโลกThai Definition:คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีพลังงานสูงยิ่ง มีช่วงคลื่นสั้นยิ่งกว่ารังสีแกมมามาก องค์ประกอบส่วนใหญ่เป็นโปรตอนประมาณร้อยละ 90 และพบอิเล็กตรอน อนุภาคแอลฟาด้วย เกิดมาจากอวกาศนอกโลกพุ่งมาสู่โลก ยังไม่ทราบแหล่งกำเนิดแน่นอน.Notes:(อังกฤษ)
(n)gamma rayExample:รังสีแกมมาเป็นรังสีที่ทรงอานุภาพมาก ต้องใช้ผนังคอนกรีตหนาถึง 2 เมตรจึงสามารถกันรังสีได้Notes:(อังกฤษ)
(v)radioactiveSee Also:radioactive rayExample:ยูเรเนียมเป็นธาตุกัมมันตรังสีUnit:ธาตุ
(n)infrared raysSee Also:infraredSyn.อินฟราเรด, รังสีอินฟราเรดExample:การกระจายรังสีความร้อนออกจากร่างกายมนุษย์เป็นสัดส่วนแบบ exponential กับอุณหภูมิในร่างกายThai Definition:รังสีแม่เหล็กไฟฟ้าซึ่งมีย่านของการแผ่รังสีที่มีช่วงคลื่นประมาณระหว่าง 7.8 x 10-7 เมตร กับ 1 มิลลิเมตรNotes:(อังกฤษ)
(n)irradiated foodExample:ผู้บริโภคมั่นใจว่าอาหารฉายรังสีนั้นปราศจากเชื้อจุลินทรีย์และแบคทีเรียที่ทำให้เกิดการเจ็บป่วยThai Definition:อาหารที่ผ่านกระบวนการฉายรังสีด้วยปริมาณรังสีที่เหมาะสมซึ่งไม่ก่อให้เกิดสารกัมมันตรังสีหรือมีรังสตกค้างแต่ประการใด จึงไม่เป็นอันตรายต่อผู้บริโภค
(n)radioactivityExample:สารกัมมันตภาพรังสีมีพิษร้ายแรงUnit:ธาตุ
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
(กำมันตะ-) น. การเสื่อมสลายโดยตัวเองของนิวเคลียสของอะตอมที่ไม่เสถียร เป็นผลให้ได้อนุภาคแอลฟา อนุภาคบีตา รังสีแกมมา ซึ่งเป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีช่วงคลื่นสั้นมากและมีพลังงานสูง ทั้งหมดนี้พุ่งออกมาด้วยความเร็วสูงมาก ในบางกรณีอาจมีพลังงานความร้อนและพลังงานแสงเกิดตามมาด้วย เช่น การเสื่อมสลายของนิวเคลียสของธาตุเรเดียมไปเป็นธาตุเรดอน.
(กำมันตะ-) ว. ที่สามารถเกิดกัมมันตภาพรังสีได้ (ใช้แก่ธาตุหรือสาร).
น. การส่งถ่ายพลังงานความร้อนในลักษณะเป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าซึ่งเคลื่อนที่ด้วยความเร็วเท่ากับความเร็วของแสง เมื่อเทหวัตถุใดดูดกลืนคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้านั้นไว้ได้ คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าก็จะแปรสภาพเป็นพลังงานความร้อน เป็นผลให้เทหวัตถุนั้นมีอุณหภูมิสูงขึ้นกว่าเดิม.
(ฉับพันนะ-) น. รัศมี ๖ ประการ คือ ๑. นีล เขียวเหมือนดอกอัญชัน ๒. ปีต เหลืองเหมือนหรดาลทอง ๓. โลหิต แดงเหมือนตะวันอ่อน ๔. โอทาต ขาวเหมือนแผ่นเงิน ๕. มัญเชฐ สีหงสบาทเหมือนดอกเซ่งหรือหงอนไก่ ๖. ประภัสสร เลื่อมพรายเหมือนแก้วผลึก. (ปฐมสมโพธิ).
น. แสง, แสงสว่าง.
ดู แกมมา.
น. รังสีแม่เหล็กไฟฟ้าซึ่งมีย่านของการแผ่รังสีที่มีช่วงคลื่นประมาณระหว่าง ๗.๘ x ๑๐–๗ เมตร กับ ๑ มิลลิเมตร, อินฟราเรด ก็เรียก.
น. คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีพลังงานสูงยิ่ง มีช่วงคลื่นสั้นยิ่งกว่ารังสีแกมมามาก องค์ประกอบส่วนใหญ่เป็นโปรตอนประมาณร้อยละ ๙๐ และพบอิเล็กตรอน อนุภาคแอลฟาด้วย เกิดมาจากอวกาศนอกโลกพุ่งมาสู่โลก ยังไม่ทราบแหล่งกำเนิดแน่นอน.
ดู บีตา.
น. แพทย์ที่วิเคราะห์และรักษาโรคโดยใช้ความรู้ทางรังสีวิทยา.
ดู รังสีเอกซ์.
น. วิทยาศาสตร์แขนงที่ว่าด้วยรังสีเอกซ์และกัมมันตภาพรังสี รวมทั้งการใช้รังสีวิเคราะห์และรักษาโรค.
น. รังสีแม่เหล็กไฟฟ้าซึ่งมีย่านของการแผ่รังสีที่มีช่วงคลื่นประมาณระหว่าง ๔ x ๑๐–๗ เมตร กับ ๕ x ๑๐–๙ เมตร แสงแดดมีรังสีอัลตราไวโอเลต ซึ่งจะมีปฏิกิริยาต่อสาร ๗–ดีไฮโดรคอเลสเทอรอล (7–dehydrocholesterol) ในผิวหนังมนุษย์ ให้กลายเป็นวิตามินดี, อัลตราไวโอเลต ก็เรียก.
น. รังสีแม่เหล็กไฟฟ้าซึ่งมีย่านของการแผ่รังสีที่มีช่วงคลื่นอยู่ประมาณระหว่าง ๕ x ๑๐–๙ เมตร ถึง ๖ x ๑๐–๑๒ เมตร ใช้ประโยชน์ในทางแพทย์ ทางวิศวกรรม เป็นต้น, รังสีเรินต์เกน หรือ เอกซเรย์ ก็เรียก
เรียกการถ่ายภาพอวัยวะภายในโดยใช้รังสีเอกซ์ว่า การถ่ายภาพเอกซเรย์, เรียกการรักษาโรคมะเร็งและโรคผิวหนังบางประเภท โดยใช้รังสีเอกซ์ที่มีช่วงคลื่นสั้นกว่าที่ใช้ถ่ายภาพ ว่า การฉายเอกซเรย์ หรือ การฉายแสง.
ดู แอลฟา.
(สะหัดสะ-) น. พันแสง หมายถึง พระอาทิตย์.
น. คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าหรือโฟตอน (photon) ที่มีพลังงานสูงมาก มีช่วงคลื่นสั้นมาก มักเรียกกันว่า รังสีแกมมา เคลื่อนที่ด้วยความเร็วประมาณ ๓๐๐, ๐๐๐ กิโลเมตร/วินาที มีอำนาจในการเจาะทะลุได้สูง สามารถเจาะทะลุแผ่นตะกั่วหนาหลายเซนติเมตรได้ เกิดจากการเสื่อมสลายของสารกัมมันตรังสี เช่น ธาตุเรเดียม ธาตุโคบอลต์-๖๐ หรือเกิดจากการที่อนุภาคบีตาพุ่งชนอะตอมของธาตุ ใช้ประโยชน์ในการแพทย์รักษาโรคมะเร็งและในการเกษตร.
น. คลื่นที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงความเข้มของสนามแม่เหล็กและไฟฟ้าที่เกิดขึ้นพร้อม ๆ กัน ได้แก่ คลื่นวิทยุ อินฟราเรด แสงที่มองเห็นได้ อัลตราไวโอเลต เอกซเรย์ รังสีแกมมา และ รังสีคอสมิก.
น. ธาตุลำดับที่ ๙๖ สัญลักษณ์ Cm เป็นธาตุกัมมันตรังสีที่นักวิทยาศาสตร์สร้างขึ้น ไม่มีปรากฏในธรรมชาติ.
น. ธาตุลำดับที่ ๙๘ สัญลักษณ์ Cf เป็นธาตุกัมมันตรังสีที่นักวิทยาศาสตร์สร้างขึ้น ไม่มีปรากฏในธรรมชาติ.
น. ดาวที่มีลักษณะเป็นกลุ่มแก๊สทรงกลม สามารถแผ่รังสีออกได้รอบตัว.
น. ธาตุลำดับที่ ๙๐ สัญลักษณ์ Th เป็นโลหะ ลักษณะเป็นของแข็ง สีเทาเข้ม หลอมละลายที่ ๑๗๕๐ ° ซ. เป็นธาตุกัมมันตรังสี ใช้ประโยชน์นำไปผสมกับโลหะอื่นให้เป็นโลหะเจือ.
น. ธาตุลำดับที่ ๔๓ สัญลักษณ์ Tc เป็นธาตุกัมมันตรังสีที่นักวิทยาศาสตร์สร้างขึ้น ไม่มีปรากฏในธรรมชาติ.
น. ธาตุลำดับที่ ๙๓ สัญลักษณ์ Np เป็นธาตุกัมมันตรังสีที่นักวิทยาศาสตร์สร้างขึ้น ไม่มีปรากฏในธรรมชาติ เป็นโลหะ ลักษณะเป็นของแข็งสีเงิน.
น. ธาตุลำดับที่ ๑๐๒ สัญลักษณ์ No เป็นธาตุกัมมันตรังสีที่นักวิทยาศาสตร์สร้างขึ้น ไม่มีปรากฏในธรรมชาติ.
น. ชื่ออนุภาคที่พุ่งออกมาจากนิวเคลียสของอะตอมกัมมันตรังสี มี ๒ ชนิด คือ อิเล็กตรอน และ โพซิตรอน. (อ. beta particle), มักเรียกกระแสอนุภาคบีตาว่า รังสีบีตา ซึ่งเคลื่อนที่ด้วยความเร็วประมาณ ๒๙๐, ๐๐๐ กิโลเมตรต่อวินาที มีอำนาจในการเจาะทะลุมากกว่ารังสีแอลฟา แต่น้อยกว่ารังสีแกมมา.
น. ธาตุลำดับที่ ๙๗ สัญลักษณ์ Bk เป็นธาตุกัมมันตรังสีที่นักวิทยาศาสตร์สร้างขึ้น ไม่มีปรากฏในธรรมชาติ.
น. เครื่องที่ใช้สำหรับก่อให้เกิดปฏิกิริยาแตกสลายทางนิวเคลียร์อย่างสมํ่าเสมอและควบคุมได้เพื่อผลิตพลังงาน สารกัมมันตรังสี เครื่องชนิดนี้มีหลายแบบ และใช้เชื้อเพลิงนิวเคลียร์ซึ่งมักเป็นแท่งยูเรเนียม, มักเรียกว่า เครื่องปฏิกรณ์ปรมาณู.
(พฺลู-) น. ธาตุลำดับที่ ๙๔ สัญลักษณ์ Pu เป็นธาตุกัมมันตรังสีที่นักวิทยาศาสตร์สร้างขึ้น ไม่มีปรากฏในธรรมชาติ.
น. ธาตุลำดับที่ ๘๔ สัญลักษณ์ Po เป็นธาตุกัมมันตรังสี ลักษณะเป็นของแข็ง หลอมละลายที่ ๒๕๔ ºซ.
(-ตฺรอน) น. อนุภาคมูลฐานชนิดหนึ่ง มีมวลเท่ากับอิเล็กตรอน มีประจุไฟฟ้าเท่ากับประจุไฟฟ้าของอิเล็กตรอน แต่เป็นประจุไฟฟ้าบวก เมื่อโพซิตรอนและอิเล็กตรอนอย่างละ ๑ อนุภาคมากระทบกัน ทั้งคู่จะทำลายล้างกันสูญหายไปด้วยกันทั้งสิ้น และให้พลังงานมากมายเกิดขึ้นในรูปของรังสีแกมมา, แอนติอิเล็กตรอน ก็เรียก.
(โพฺร-) น. ธาตุลำดับที่ ๙๑ สัญลักษณ์ Pa เป็นโลหะ ลักษณะเป็นของแข็ง สีเทาอ่อน หลอมละลายที่ ๑๒๓๐ °ซ. เป็นธาตุกัมมันตรังสี, โพรแทกทิเนียม ก็เรียก.
(โพฺร-) น. ธาตุลำดับที่ ๖๑ สัญลักษณ์ Pm เป็นธาตุกัมมันตรังสีที่นักวิทยาศาสตร์สร้างขึ้นไม่มีปรากฏในธรรมชาติ ลักษณะเป็นของแข็ง หลอมละลายที่ ๑๐๒๗ °ซ.
น. ธาตุลำดับที่ ๑๐๐ สัญลักษณ์ Fm เป็นธาตุกัมมันตรังสีที่นักวิทยาศาสตร์สร้างขึ้น ไม่มีปรากฏในธรรมชาติ.
(แฟฺรน-) น. ธาตุลำดับที่ ๘๗ สัญลักษณ์ Fr เป็นโลหะ ลักษณะเป็นของแข็ง หลอมละลายที่ ๒๗ °ซ. เป็นธาตุกัมมันตรังสี.
น. มุมระหว่างรังสีตกกระทบกับเส้นปรกติที่ลากผ่านจุดตกกระทบบนผิววัตถุ.
น. มุมระหว่างรังสีสะท้อนกับเส้นปรกติที่ลากผ่านจุดตกกระทบบนผิววัตถุ.
น. มุมระหว่างรังสีหักเหกับเส้นปรกติที่ลากผ่านจุดตกกระทบบนผิววัตถุ.
น. ธาตุลำดับที่ ๑๐๑ สัญลักษณ์ Md เป็นธาตุกัมมันตรังสีที่นักวิทยาศาสตร์สร้างขึ้น ไม่มีปรากฏในธรรมชาติ.
น. อาวุธ เครื่องอุปกรณ์ของอาวุธ สารเคมี สารชีวะ สารรังสี หรือเครื่องมือเครื่องใช้ที่อาจนำไปใช้ในการรบหรือการสงครามได้.
น. ธาตุลำดับที่ ๙๒ สัญลักษณ์ U เป็นโลหะ ลักษณะเป็นของแข็ง สีขาว เนื้อแข็ง หลอมละลายที่ ๑๑๓๒ °ซ. เป็นธาตุกัมมันตรังสีที่มีปรากฏในธรรมชาติ ใช้ประโยชน์เป็นเชื้อเพลิงนิวเคลียร์.
น. ธาตุลำดับที่ ๑๐๔ สัญลักษณ์ Rf เป็นธาตุกัมมันตรังสีที่นักวิทยาศาสตร์สร้างขึ้น ไม่มีปรากฏในธรรมชาติ ในสหพันธรัฐรัสเซียเรียกชื่อธาตุนี้ว่า เคอร์ชาโทเวียม (kurchatovium) และใช้สัญลักษณ์ Ku.
น. ธาตุลำดับที่ ๘๖ สัญลักษณ์ Rn เป็นแก๊สกัมมันตรังสีที่มีปรากฏในธรรมชาติ ลักษณะเป็นแก๊สเฉื่อย.
น. ธาตุลำดับที่ ๘๘ สัญลักษณ์ Ra เป็นธาตุกัมมันตรังสีที่มีปรากฏในธรรมชาติ เป็นโลหะที่หายากมาก หลอมละลายที่ ๗๐๐ ºซ. ใช้ประโยชน์ในทางแพทย์สำหรับรักษาโรคมะเร็ง.
(เริก) น. เรียกดาวที่มีลักษณะเป็นกลุ่มแก๊สทรงกลมที่สามารถแผ่รังสีออกได้รอบตัว ว่า ดาวฤกษ์.
น. ธาตุลำดับที่ ๑๐๓ สัญลักษณ์ Lr (ใช้ Lw ก็มี) เป็นธาตุกัมมันตรังสีที่นักวิทยาศาสตร์สร้างขึ้น ไม่มีปรากฏในธรรมชาติ.
น. ผลที่ได้จากการที่การแผ่รังสีของแม่เหล็กไฟฟ้าถูกแยกออกเป็นองค์ประกอบต่าง ๆ ตามขนาดของช่วงคลื่นหรือความถี่ขององค์ประกอบนั้น ๆ.
น. ธาตุลำดับที่ ๙๕ สัญลักษณ์ Am เป็นธาตุกัมมันตรังสีที่นักวิทยาศาสตร์สร้างขึ้น ไม่มีปรากฏในธรรมชาติ.
น. รังสีแม่เหล็กไฟฟ้าซึ่งมีย่านของการแผ่รังสีที่มีช่วงคลื่นประมาณระหว่าง ๔ x ๑๐-๗เมตร กับ ๕ x ๑๐-๙ เมตร แสงแดดมีรังสีอัลตราไวโอเลต ซึ่งจะมีปฏิกิริยาต่อสาร ๗-ดีไฮโดรคอเลสเทอรอล (7-dehydrocholesterol) ในผิวหนังมนุษย์ ให้กลายเป็นวิตามินดี, รังสีเหนือม่วง ก็เรียก.
ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
ภาพรังสีโพรงสมองมีอากาศ[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
การถ่ายภาพรังสีโพรงสมองหลังฉีดอากาศ[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
ไพอีโลแกรม, ภาพรังสีกรวยไต[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
การทำไพอีโลแกรม, การถ่ายภาพรังสีกรวยไต[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
การถ่ายภาพรังสีเชิงกราน[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
การถ่ายภาพรังสีเชิงกราน[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
การถ่ายภาพรังสีระนาบ[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
การถ่ายภาพรังสีเชิงกราน[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
การถ่ายภาพรังสีเชิงกราน[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
มาตรรังสีอาทิตย์รวม, ไพรานอมิเตอร์[พลังงาน ๒๖ ม.ค. ๒๕๔๕]
พยาธิรังสีวิทยา[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
มาตรรังสีอาทิตย์ตรง, ไพร์ฮีลิออมิเตอร์[พลังงาน ๒๖ ม.ค. ๒๕๔๕]
ตัวเก็บรังสีแบบรางพาราโบลา[พลังงาน ๒๖ ม.ค. ๒๕๔๕]
การถ่ายภาพรังสีระนาบ[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
๑. ภาพรังสีหลอดเลือดดำ๒. ภาพบันทึกชีพจรหลอดเลือดดำ[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
๑. กระบวนการบันทึกภาพรังสีหลอดเลือดดำ๒. การบันทึกชีพจรหลอดเลือดดำ[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
การถ่ายภาพรังสีระนาบ[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
การถ่ายภาพรังสีระนาบ[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
การถ่ายภาพรังสีหลอดน้ำเหลือง[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
การเชื่อมด้วยรังสีแสง[การเชื่อม ๒๐ ก.ย. ๒๕๔๔]
การถ่ายภาพรังสีระบบน้ำเหลือง[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
การหาอายุจากคาร์บอนกัมมันตรังสี[ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖]
รังสีเคมี[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
ผลกัมมันตรังสี[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
-รักษาหายด้วยรังสี[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
กระเพาะปัสสาวะอักเสบเหตุรังสี[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
ผิวหนังอักเสบเหตุรังสี[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
รังสีวินิจฉัย[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
รังสีวินิจฉัยศิลป์[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
รังสีทันตกรรม[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
รังสีทันตศาสตร์[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
อาการกลัวรังสี[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
ฟอสฟอรัสกัมมันตรังสี[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
การถ่ายภาพรังสีวาวแสง[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
ผลรังสีรักษาแบบป้องกัน[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
รังสีเวชกรรม[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
ปฏิกิริยาต่อรังสี[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
ความต้านรังสี[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
-ต้านรังสี[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
๑. -สนองรังสี๒. ไวต่อรังสี [ มีความหมายเหมือนกับ radiosensitive ][แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
เครื่องกำเนิดภาพรังสี, รังสีทรรศน์[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
คาร์บอนกัมมันตรังสี[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
ธาตุกัมมันตรังสี[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
ทองกัมมันตรังสี[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
ไอโอดีนกัมมันตรังสี[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
เหล็กกัมมันตรังสี[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
ไอโซโทปกัมมันตรังสี[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
ตะกั่วกัมมันตรังสี[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
แร่กัมมันตรังสี[ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖]
ฟอสฟอรัสกัมมันตรังสี[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
กากกัมมันตรังสี[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
การฉายรังสี[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
การดูภาพทางรังสีวินิจฉัย[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
รังสีอินฟราเรด[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
ธาตุกัมมันตรังสี[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
การระเบิดของรังสีแกมมา[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
สารกัมมันตรังสี[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
กัมมันตภาพรังสี[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
การบันทึกภาพด้วยรังสี[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
การปนเปื้อนกัมมันตรังสีในน้ำนม[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
การแผ่รังสีของดวงอาทิตย์[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
การรักษาด้วยรังสี[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
ปริมาณ (รังสี) ดูดกลืน, Absorbed dose, D<sub>T, R</sub> ปริมาณพลังงานที่วัตถุดูดกลืนไว้เมื่อได้รับรังสี มีหน่วยเป็น เกรย์ ปกติจะระบุชนิดของวัตถุและชนิดของรังสี โดยเขียนเป็นสัญลักษณ์ดังนี้ D<sub>material, radiation</sub> เช่น D<sub>lung, alpha </sub>ยกเว้นรังสีแกมมาอาจไม่ต้องระบุชนิดของรังสี เช่น Dwater (ดู gray, Gy ประกอบ)[นิวเคลียร์]
สารดูดกลืน, วัสดุใดๆ ที่สามารถดูดกลืนหรือลดความเข้มของ<em>รังสีชนิดก่อไอออน</em> ตัวอย่างของสารดูดกลืน<em>นิวตรอน</em> เช่น แฮฟเนียม หรือ แคดเมียม ใช้เป็นแท่งควบคุมใน<em>เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์</em> สารดูดกลืนรังสีแกมมา เช่น คอนกรีตและเหล็ก ใช้เป็นวัสดุกำบังรังสีในเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ แผ่นกระดาษหรือแผ่นโลหะบางสามารถดูดกลืนหรือลดความเข้มของรังสีแอลฟาได้[นิวเคลียร์]
อนุกรมแอกทิไนด์, กลุ่มธาตุในตารางพีริออดิก ตั้งแต่ลำดับที่ 89 แอกทิเนียม (actinium, Ac) จนถึงลำดับที่ 103 ลอว์เรนเซียม (lawrencium, Lr) รวม 15 ธาตุ ซึ่งเป็นธาตุกัมมันตรังสีทั้งสิ้น[นิวเคลียร์]
ระดับต้องปฏิบัติ, ระดับอัตราปริมาณรังสี หรือ ความเข้มข้น<em>กัมมันตภาพ</em> ซึ่งต้องดำเนินการตามมาตรการแก้ไขหรือป้องกันทันที เพื่อไม่ให้บุคคลได้รับรังสีแบบเรื้อรัง หรือกรณีฉุกเฉิน[นิวเคลียร์]
การก่อกัมมันตภาพรังสี, กระบวนการทำให้ธาตุเกิดกัมมันตภาพรังสีโดยการระดมยิงธาตุนั้นๆ ด้วยนิวตรอน โปรตอน หรือ อนุภาคอื่นๆ ตัวอย่างการก่อกัมมันตภาพรังสี เช่น การผลิตสารไอโซโทปกัมมันตรังสีไอโอดีน-131 โดยการระดมยิงธาตุเทลลูเรียมด้วยนิวตรอน[นิวเคลียร์]
การวิเคราะห์เชิงก่อกัมมันตภาพรังสี, การจำแนกชนิดและตรวจหาปริมาณของธาตุในสารตัวอย่าง โดยการตรวจวัดรังสีแกมมาลักษณะเฉพาะที่ปลดปล่อยจาก <em>นิวไคลด์กัมมันตรังสี</em>ที่เกิดขึ้นจากการนำสารตัวอย่างนั้นไปก่อกัมมันตภาพรังสี (ดู Activation ประกอบ)[นิวเคลียร์]
ผลผลิตจากการก่อกัมมันตภาพรังสี, <em>นิวไคลด์กัมมันตรังสี</em>ที่เกิดจาก<em>การก่อกัมมันตภาพรังสี</em> (ดู Fission products ประกอบ)[นิวเคลียร์]
กัมมันตภาพ, <em>การสลาย</em>ของ<em>นิวไคลด์กัมมันตรังสี</em>ต่อหน่วยเวลา ปัจจุบันหน่วยที่ใช้ คือ <em>เบ็กเคอเรล</em> คำนี้ตามรายงานฉบับที่ 33 ของคณะกรรมาธิการระหว่างประเทศด้านหน่วยและการวัดรังสี (International Commission on Radiation Units and Measurement: ICRU No. 33) ให้ความหมายว่า เป็นจำนวนของนิวไคลด์กัมมันตรังสีในขณะใดขณะหนึ่งที่สลายเปลี่ยนแปลงไปต่อวินาที (ดู Becquerel, Bq และ Curie, Ci ประกอบ)[นิวเคลียร์]
ความเข้มข้นกัมมันตภาพ, <em>กัมมันตภาพ</em>ของ<em>นิวไคลด์กัมมันตรังสี</em>ต่อหน่วยปริมาตร เช่น เบ็กเคอเรลต่อมิลลิลิตร (Bq/ml) มิลลิคูรีต่อมิลลิลิตร (mCi/ml)[นิวเคลียร์]
การรับรังสีเฉียบพลัน, การรับปริมาณรังสีในระยะเวลาสั้นซึ่งสามารถนำไปคำนวณเป็นปริมาณรังสีที่ได้รับในคราวเดียว[นิวเคลียร์]
การรับนิวไคลด์กัมมันตรังสีเฉียบพลัน, การรับนิวไคลด์กัมมันตรังสีเข้าสู่ร่างกายภายในระยะเวลาสั้น ซึ่งสามารถนำไปคำนวณเป็นปริมาณรังสีผูกพันที่ได้รับในคราวเดียว[นิวเคลียร์]
อะลารา, การดำเนินการใดๆ ในทางปฏิบัติที่ทำให้งานสำเร็จตามวัตถุประสงค์โดยได้รับรังสีชนิดก่อไอออนน้อยที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้[นิวเคลียร์]
เอแอลไอ, ขีดจำกัดการรับนิวไคลด์กัมมันตรังสีรอบปี, ปริมาณสูงสุดของนิวไคลด์กัมมันตรังสีแต่ละชนิด ที่ร่างกายได้รับโดยการหายใจ การกิน หรือ ผ่านทางผิวหนังในเวลา 1 ปี ได้จากการคำนวณปริมาณรังสีผูกพันโดยใช้แบบจำลองมนุษย์อ้างอิง (Reference Man) จะเท่ากับขีดจำกัดปริมาณรังสี[นิวเคลียร์]
อนุภาคแอลฟา, อนุภาคที่มีประจุบวก ประกอบด้วย<em>โปรตอน</em> 2 อนุภาค และ<em>นิวตรอน</em> 2 อนุภาค ซึ่งเหมือนกับนิวเคลียสของฮีเลียม-4 มีความสามารถในการทะลุทะลวงต่ำ ผ่านอากาศได้เพียง 2-3 เซนติเมตร และไม่สามารถทะลุผ่านแผ่นกระดาษหรือผิวหนังได้ อนุภาคแอลฟาเกิดจาก<em>การสลาย</em>ของสารกัมมันตรังสีบางชนิด เช่น ยูเรเนียม และทอเรียม[นิวเคลียร์]
รังสีแอลฟา, กระแสของ<em>อนุภาคแอลฟา</em> หรืออาจใช้เรียกแทนอนุภาคแอลฟาได้ <br>(ดู Alpha particle ประกอบ)</br>[นิวเคลียร์]
ปริมาณรังสีสมมูลโดยรอบ, ปริมาณรังสีสมมูลที่อ้างอิงกับทรงกลมไอซีอาร์ยู ใช้ในการปรับเทียบปริมาณรังสียังผลของเครื่องมือตรวจวัดรังสี (ดู ICRU sphere ประกอบ)[นิวเคลียร์]
ประลัย, ปฏิกิริยาระหว่างอนุภาคกับปฏิยานุภาคของอนุภาคนั้นๆ แล้วอนุภาคทั้งสองหายไปกลายเป็นรังสีแกมมาพลังงานเท่ากันเคลื่อนที่ออกไปในทิศทางตรงข้ามกัน เช่นการรวมตัวของอิเล็กตรอนกับโพซิตรอน ได้รังสีแกมมาพลังงานรวม 1.02 ล้านอิเล็กตรอนโวลต์ (ดู Antimatter ประกอบ)Example: [นิวเคลียร์]
ปริมาณรังสีรอบปี, ปริมาณรังสีรวมในรอบปีที่ได้รับจากภายนอกร่างกาย และจากนิวไคลด์กัมมันตรังสีที่เข้าสู่ร่างกายExample: [นิวเคลียร์]
การเฝ้าสังเกตพื้นที่, การเฝ้าสังเกตปริมาณรังสี หรือการเปื้อนของสารกัมมันตรังสีจากการตรวจวัดพื้นที่ในสถานปฏิบัติการทางรังสี ณ ตำแหน่งต่างๆ[นิวเคลียร์]
การสำรวจพื้นที่, ขั้นตอนเบื้องต้นในการหาพื้นที่เพื่อเป็นที่ตั้งสถานปฏิบัติการทางนิวเคลียร์หรือทางรังสี โดยสำรวจข้อมูลและปัจจัยต่างๆ ของแต่ละพื้นที่ เพื่อพิจารณาผลกระทบที่อาจมีต่อความปลอดภัยของสถานปฏิบัติการ และคัดสถานที่ที่ไม่เหมาะสมออก[นิวเคลียร์]
พลังงานอะตอม, พลังงานที่ปลดปล่อยออกมาเมื่อมีการแบ่งแยกนิวเคลียสหรือการหลอมนิวเคลียสของอะตอม หรือจากการสลายของสารกัมมันตรังสี ปัจจุบันนิยมใช้ “พลังงานนิวเคลียร์"[นิวเคลียร์]
การลด (ความเข้มของรังสี), การลดลงของความเข้มของรังสีเมื่อผ่านสสารเนื่องจากกระบวนการดูดกลืนและการกระเจิงรังสี[นิวเคลียร์]
ภาพรังสีในตัว, ภาพบันทึกการกระจายของรังสีจากสารกัมมันตรังสีในวัตถุหรือสิ่งมีชีวิต โดยวางวัตถุนั้นไว้ใกล้แผ่นฟิล์มถ่ายภาพหรือเยื่อไวแสง (emulsion) รังสีที่แผ่ออกมาจะทำให้เกิดภาพบนแผ่นฟิล์มหรือเยื่อไวแสง (ดู radiography ประกอบ)[นิวเคลียร์]
ปริมาณรังสีลดได้, ปริมาณรังสีที่ได้รับซึ่งสามารถลดได้ ถ้ามีการใช้มาตรการป้องกันExample: [นิวเคลียร์]
ปริมาณรังสีลดลง, ปริมาณรังสีที่ป้องกันได้เมื่อใช้มาตรการป้องกัน ซึ่งเป็นผลต่างของปริมาณรังสีที่คาดว่าจะได้รับ ในกรณีที่ไม่ใช้และใช้มาตรการป้องกัน[นิวเคลียร์]
รังสีพื้นหลัง, รังสีจากสิ่งแวดล้อมซึ่งมีที่มาจากหลายแหล่ง เช่น รังสีคอสมิกจากอวกาศ รังสีจากสารกัมมันตรังสีตามธรรมชาติที่มีอยู่ในดิน น้ำ อากาศ อาหาร รวมทั้งที่มีอยู่ในร่างกายมนุษย์ (ดู natural exposure ประกอบ)[นิวเคลียร์]
เบ็กเคอเรล, หน่วยเอสไอที่ใช้วัดกัมมันตภาพ ปัจจุบันใช้แทนหน่วยคูรี 1 เบ็กเคอเรล หมายถึง การสลายตัวของนิวไคลด์กัมมันตรังสี 1 ครั้งต่อวินาที (ดู curie, Ci ประกอบ)[นิวเคลียร์]
ครึ่งชีวิตทางชีวภาพ, ระยะเวลาที่สารกัมมันตรังสีในเนื้อเยื่อ อวัยวะ หรือร่างกายลดลงครึ่งหนึ่ง อันเนื่องมาจากกระบวนการทางชีวภาพ[นิวเคลียร์]
บีเอ็นซีที, รังสีรักษาโดยการจับยึดนิวตรอน, การรักษาผู้ป่วยโรคมะเร็งบางชนิด โดยการฉีดสารประกอบโบรอนเสถียรให้ไปสะสมในเซลล์มะเร็ง แล้วฉายรังสีนิวตรอนไปที่บริเวณนั้น อะตอมโบรอนจะจับยึดนิวตรอนไว้กลายเป็นโบรอนกัมมันตรังสี ซึ่งจะสลายพร้อมกับปล่อยอนุภาคแอลฟาออกมาทำลายเซลล์มะเร็งนั้น (ดู neutron capture ประกอบ)[นิวเคลียร์]
ปริมาณสะสมในร่างกาย, ปริมาณสารกัมมันตรังสีที่อยู่ภายในร่างกายของมนุษย์หรือสัตว์ (ดู Background radiation และ Wholebody counter ประกอบ)[นิวเคลียร์]
กลุ่มอาการทางไขกระดูก, กลุ่มอาการป่วยจากการได้รับรังสีที่มีอำนาจทะลุทะลวงสูงจากภายนอกทั่วร่างกายในระยะเวลาสั้นๆ ปริมาณตั้งแต่ 1 เกรย์ ขึ้นไป ทำให้เกิดการลดลงของเม็ดเลือดและก่อให้เกิดอาการต่างๆ เช่น อ่อนเพลีย โลหิตจาง ร่างกายติดเชื้อง่าย เลือดไหลไม่หยุด (ดู Radiation syndrome, Gastrointestinal syndrome และ Cerebrovascular syndrome ประกอบ)[นิวเคลียร์]
รังสีรักษาระยะใกล้, การรักษาโดยใช้สารกัมมันตรังสีที่เป็นของแข็ง ฝังไว้ในร่างกายใกล้ๆ กับบริเวณที่ต้องการรักษาExample: [นิวเคลียร์]
กฎของแบรกก์, กฎที่อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างความยาวคลื่นของรังสีเอกซ์ตกกระทบ มุมตกกระทบและระยะห่างของอะตอมซึ่งเป็นเงื่อนไขของการเกิดปรากฏการณ์การเลี้ยวเบนรังสีเอกซ์ กฎนี้ ดับเบิลยู. แอล. แบรกก์ (W. L. Bragg) คิดขึ้น ในปี พ.ศ. 2455 และได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ร่วมกับบิดา คือ ดับเบิลยู. เอช. แบรกก์ (W. H. Bragg) ในปี พ.ศ. 2458[นิวเคลียร์]
เบรมส์ชตราลุง, รังสีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่ถูกปล่อยออกมา เมื่ออนุภาคที่มีประจุถูกเร่งให้เร็วขึ้น หรือถูกหน่วงให้ช้าลง รังสีเอกซ์จากเครื่องเอกซเรย์ทั่วไปก็เป็นรังสีชนิดนี้[นิวเคลียร์]
เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์แบบทวีกำลัง, เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์วิจัยที่สามารถเพิ่มกำลังและรังสีให้สูงขึ้นในช่วงเวลาสั้นๆ ซ้ำๆ กันได้ โดยนิวตรอนฟลักซ์ในระหว่างการทวีกำลังแต่ละครั้งมีค่าสูงมากเกินกว่าการเดินเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ในสภาวะปกติ[นิวเคลียร์]
คาร์บอน-14, ไอโซโทปกัมมันตรังสีของธาตุคาร์บอน มีครึ่งชีวิต 5, 730 ปี เกิดขึ้นในบรรยากาศชั้นบนของโลก โดยอนุภาคนิวตรอนที่เกิดมาจากรังสีคอสมิกไปชนนิวเคลียสของธาตุไนโตรเจนเกิดเป็นคาร์บอน-14 และถูกออกซิไดส์ไปเป็นคาร์บอนไดออกไซด์เข้าสู่วงจรของสิ่งมีชีวิต หลังจากสิ่งมีชีวิตตายไป จะไม่มีการแลกเปลี่ยนกับคาร์บอนไดออกไซด์ในอากาศอีก คาร์บอน-14 ที่มีอยู่ก็จะสลายลดลงด้วยอัตราที่สามารถทราบได้ จึงใช้ในการคำนวณอายุซากสิ่งมีชีวิตและวัตถุโบราณที่มีคาร์บอนเป็นองค์ประกอบ (ดู Radiocarbon dating ประกอบ)[นิวเคลียร์]
กลุ่มอาการทางระบบประสาทส่วนกลาง, กลุ่มอาการป่วยจากการได้รับรังสีที่มีอำนาจทะลุทะลวงสูงจากภายนอกทั่วร่างกายในระยะเวลาสั้นๆ ปริมาณตั้งแต่ 50 เกรย์ขึ้นไป อาการที่เกิดได้แก่ กระวนกระวาย สับสน คลื่นไส้และอาเจียนอย่างรุนแรง ไม่รู้สึกตัว และจะเสียชีวิตภายในระยะเวลาอันสั้น (ดู Radiation syndrome, Bone marrow syndrome และ Gastrointestinal syndrome ประกอบ)[นิวเคลียร์]
กลุ่มอาการทางระบบประสาทส่วนกลาง, กลุ่มอาการป่วยจากการได้รับรังสีที่มีอำนาจทะลุทะลวงสูงจากภายนอกทั่วร่างกายในระยะเวลาสั้นๆ ปริมาณตั้งแต่ 50 เกรย์ขึ้นไป อาการที่เกิดได้แก่ กระวนกระวาย สับสน คลื่นไส้และอาเจียนอย่างรุนแรง ไม่รู้สึกตัว และจะเสียชีวิตภายในระยะเวลาอันสั้น (ดู Radiation syndrome, Bone marrow syndrome และ Gastrointestinal syndrome ประกอบ)[นิวเคลียร์]
ตัวอย่างประโยคจาก Open Subtitles**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
- ภายใต้รังสีเอ็กส์The Cement Garden (1993)
พวกเขาไม่สามารถอยู่สัมผัสกับ รังสีที่ เป็นเวลานานกว่า 15 นาที วิธีการของการเต้นของชีพจร ของเขา?2010: The Year We Make Contact (1984)
ยังกับรังสีรั่วนะThe Truman Show (1998)
ถอยก่อน รังสีรั่วในโรงไฟฟ้าThe Truman Show (1998)
อุปกรณ์ในการส่องรังสีจะถูกรวบรวมตอน 5 โมงเย็น เย็นนี้Resident Evil (2002)
ดูวิธีการที่จะส่องประกายในการที่หนารังสีดำของผมThe Birdcage (1996)
ปกติเลนส์อินฟราเรดและ รังสีอัลตราไวโอเลตContact (1997)
รังสีที่เหลือ?Contact (1997)
มีคลื่นรังสีอยู่หลายจุด แต่ไม่เป็นอันตรายEvent Horizon (1997)
-โดนคลื่นรังสีรบกวนเหรอEvent Horizon (1997)
- หมอบอกว่านายโดนรังสีคนเดียว...Fantastic Four (2005)
รังสีคอสมิคจะเดินทาง จากเครื่องกำเนิดมาที่ห้องนี้.Fantastic Four (2005)
มันมี รังสีอำหมิตของความเกลียดชังJust Like Heaven (2005)
ฉายรังสี!Jenny, Juno (2005)
ฉายรังสี!Jenny, Juno (2005)
ฉายรังสี!Jenny, Juno (2005)
ห้ามฉายรังสี!Jenny, Juno (2005)
เพิ่งได้รับจากการฉายรังสี ตอนนี้หรือ ดีโนโค เป็นประวัติศาสตร์ที่คุณได้ยินฉัน?Cars (2006)
เขาบอกคุณหรือไม่ว่าสารกัมมันตรังสีอยู่ที่ไหน?Chapter Eight 'Seven Minutes to Midnight' (2006)
เมฆรังสีแผ่ปกคลุมทั่วโลกของเราFido (2006)
รังสีที่แผ่วเบาก็จะยัง ทำให้ใครก็ตามที่ตายฟื้นอยู่ดีFido (2006)
-ค่ะ แต่ทว่าตัวรังสี...Hollow Man II (2006)
ดวงอาทิตย์แผ่รังสีความร้อนมาในรูปของคลื่นแสง มันทำให้โลกร้อนขึ้นAn Inconvenient Truth (2006)
การแผ่รังสีบางส่วนที่โลกดูดซับไว้และสร้างความอบอุ่นให้กับโลก ก็มีการแผ่กลับออกไปสู่อวกาศ ในรูปของการแผ่รังสีอินฟราเรดAn Inconvenient Truth (2006)
บางส่วนของการแผ่รังสีอินฟราเรดขาออกนี้ถูกกักไว้ โดยชั้นบรรยากาศนี้ และเก็บมันไว้ภายในAn Inconvenient Truth (2006)
การทำเช่นนี้ทำให้ชั้นบรรยากาศหนาขึ้น การแผ่รังสีอินฟราเรดออกไปก็ยิ่งถูกกักไว้มากขึ้นAn Inconvenient Truth (2006)
หนุ่มคนนี้ปล่อยรังสี 1, 800 คิวรี่ ทั้งๆที่ไม่เคยแม้แต่สัมผัสกับสารกัมมันตรังสีChapter Eight 'Seven Minutes to Midnight' (2006)
ตรวจวัดระดับรังสีChapter Eight 'Seven Minutes to Midnight' (2006)
ทนต่อสารกัมมันตภาพรังสีChapter One 'Genesis' (2006)
เอาละ, ฉันไม่รู้อะไรเลยเกี่ยวกับสารกัมมันตรังสีChapter Eight 'Seven Minutes to Midnight' (2006)
เขามีระดับรังสีสูงกว่า 1800Chapter Seven 'Nothing to Hide' (2006)
ได้รับคลื่นรังสีไหม / ยังเป็นระดับที่ปลอดภัยChapter Seven 'Nothing to Hide' (2006)
เราจะเอาเขาไปกำจัดรังสีอันตรายChapter Seven 'Nothing to Hide' (2006)
หมอบอกว่า เธอได้รับพิษจากรังสีChapter Eight 'Seven Minutes to Midnight' (2006)
(รังสีที่แผ่จากอวกาศมายังโลก)Super Rookie (2005)
คุณหมอฟิชแมนเชิญที่ห้องฉายรังสีคะBetty's Wait Problem (2007)
เราทั้งคู่แผ่รังสีและดูดซึมมันNo Such Thing as Vampires (2007)
ชั้นจะไปที่คลินิครังสีวิทยาThe Right Stuff (2007)
เว้นแต่มันเป็นการติดเชื้อ, ซึ่งคุณ ต้องฉายรังสี, เธอจะตายภายใน 1 วัน97 Seconds (2007)
มีโอกาศโดยเอาตาออก, แล้วหาเนื้องอกหลัก และฉายรังสีสามครั้ง , ที่สามารถ... .97 Seconds (2007)
ดวงอาทิตย์กำลังยินดีต้อนรับฉัน รังสีแห่งแสงสว่างAttack on the Pin-Up Boys (2007)
ดวงอาทิตย์ยินดีต้อนรับ ฉันและรังสีแห่งแสงสว่างAttack on the Pin-Up Boys (2007)
OK , ผมกำลังอ่านค่ารังสี ที่ด้านล่างนั่นTransformers (2007)
ผมได้ค่ารังสีแล้ว ระดับรังสีเข้มมาก อ่านได้ 42 ขึ้นTransformers (2007)
รังสีที่ได้เข้มมากTransformers (2007)
เราจะส่งถ่ายรังสีของเดอะคิวบ์ เข้ามาในกล่องใบนี้Transformers (2007)
ไม่หรอก เหตุผลที่เค้าพกไว้ เพื่อป้องกันพิษจากกัมมันภาพรังสีNext (2007)
มันมีสาเหตุจากรังสีคอสมิก ไม่ เหมือนกับรังสีที่เราได้รับFantastic 4: Rise of the Silver Surfer (2007)
ถ้าใครบางคนบอกเธอว่า คุณเหมือนโดนสอบสวน การรบกวน และรังสีคอสมิก แทนที่การเอาใจใส่งานแต่งงาน เหมือนที่คุณสัญญาFantastic 4: Rise of the Silver Surfer (2007)
Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
[āhān chāi rangsī] (n, exp) EN: irradiated food
[chāi rangsī] (v, exp) EN: treat by radiation
[kammantaphāprangsī] (n) EN: radioactivity  FR: radioactivité [ f ]
[kān phaērangsī] (v) EN: radiation  FR: radiation [ f ]
[kān phaērangsī khwām røn] (n, exp) EN: heat radiation
[kān phārangsī] (n) EN: convection  FR: convection [ f ]
[phaērangsī] (v) EN: radiate  FR: irradier
[phāp rangsī løl leūat] (n) EN: angiogram
[rangsī = rangsi] (n) EN: ray ; beam of light ; radiation ; radioactivity  FR: rayonnement [ m ] ; radiation [ f ] ; rayon [ m ] ; faisceau lumineux [ m ]
[rangsī] (n) FR: demi-droite [ f ]
[rangsī aēlfā] (n, exp) EN: alpha rays  FR: rayons alpha [ mpl ]
[rangsī anfā = rangsī alfā] (n, exp) EN: alpha rays  FR: rayons alpha [ mpl ]
[rangsī antrāwaiōlēt] (n, exp) EN: UV  FR: rayonnement ultraviolet [ m ] ; UV [ mpl ]
[rangsī bētā] (n, exp) EN: beta rays  FR: rayons bêta [ mpl ]
[rangsī bītā] (n, exp) EN: beta rays  FR: rayons bêta [ mpl ]
[rangsī eks] (n, exp) EN: x-ray  FR: rayons X
[rangsī infrārēt] (n, exp) EN: infrared  FR: rayonnement infrarouge [ m ]
[rangsī kaēmmā] (n, exp) EN: gamma rays  FR: rayons gamma [ mpl ]
[rangsī khøtmik] (n, exp) EN: cosmic rays  FR: rayonnement cosmique [ m ] ; rayons cosmiques [ mpl ]
[rangsī khwāmrøn] (n, exp) EN: infrared rays ; infrared  FR: rayons infrarouges [ mpl ]
[rangsīphaēt] (n) EN: radiologist  FR: radiologue [ m ]
[rangsī tokkrathop] (n, exp) EN: incident ray  FR: rayon incident [ m ]
[rangsīwitthayā] (n) EN: radiology  FR: radiologie [ f ]
[thaēp kān phaērangsī] (n, exp) FR: zone radiative [ f ]
[thaēp kān phārangsī] (n, exp) FR: zone convective [ f ]
[thamhaikoēt phāwa kammantaphāprangsī] (x) EN: activate  FR: rendre radioactif
Longdo Approved EN-TH
(n, abbrev)ระบบสร้างภาพตัดขวางจากรังสีเอกซ์ด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ (Computerized axial tomography)
NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
(n)ธาตกัมมันตรังสีทีมีสัญลักษณ์ Ac
(n)วิทยาศาสตร์ในสาขาที่เกี่ยวกับรังสีของแสงและปฏิกิริยาของแสง
(vt)ทำให้เป็นกัมมันตภาพรังสี
(n)ลำรังสีของกลุ่มอนุภาคแอลฟา
(n)ธาตุกัมมันตรังสีที่เกิดจากการยิงธาตุฮีเลียมด้วยธาตุยูเรเนียมและพลูโตเนียม
(vt)แผ่รังสีSyn.ray
(adj)ซึ่งมีลำแสงSee Also:ซึ่งแผ่รังสี
(n)รังสีคอสมิก
(n)การสลายกัมมันตรังสี (ทางนิวเคลียร์ฟิสิกส์)See Also:การสลายอนุภาคหรือรังสีSyn.disintegration, degeneration, radioactive decay
(n)การปล่อยพลังงานSee Also:การเปล่ง, การแผ่รังสีSyn.radiation
(n)ฝุ่นกัมมันตรังสีหลังนิวเคลียร์ระเบิด
(n)ธาตุกัมมันตรังสี (สัญลักษณ์คือ Fm)
(n)รังสีแกมมา
(n)เครื่องวัดกัมมันตภาพรังสี
(n)รัศมีSee Also:ฉัพพรรณรังสีSyn.glory, nimbus
(vt)ห่อหุ้มด้วยฉนวน (ป้องกันความร้อน, กระแสไฟ, รังสีฯลฯ)
(vt)ฉายรังสี (เพื่อถนอมอาหาร)
(n)การฉายรังสี
(n)ธาตุกัมมันตรังสี
(prf)แท่งSee Also:รัศมี, รังสี
(adj)ไวต่อแสงหรือรังสีอย่างผิดปกติ
(n)ขอบข่ายของแสงหรือรังสี
(n)ธาตุกัมตรังสีพอโลเนียม
(adj)ซึ่งปล่อยความร้อนหรือแสงออกมาในรูปของรังสีหรือพลังงาน (ทางฟิสิกส์)See Also:ซึ่งแผ่รังสีจากจุดศูนย์กลาง
(n)พลังงานที่เกิดจากการแผ่รังสี
(n)โรคที่เกิดจากการได้รับรังสีหรือกัมมันตภาพรังสีมากเกินไป
(n)สิ่งที่ปล่อยรังสีSyn.emitter
(adj)ที่เกี่ยวกับรังสี
(adj)เกี่ยวกับกัมมันตภาพรังสี
(n)กัมมันตภาพรังสีในรูปของคาร์บอนที่ใช้คำนวณอายุของอินทรีย์วัตถุ
(n)ไอโซโทปที่มีกัมมันตภาพรังสีของธาตุใช้ทางการแพทย์หรือชีววิทยา
(n)แพทย์รังสีวิทยา
(n)รังสีวิทยา
(n)เครื่องวัดพลังงานรังสี
(n)ธาตุกัมมันตภาพรังสีชนิดหนึ่งSee Also:ธาตุเรเดียม
(n)ธาตุกัมมันตรังสีชนิดหนึ่ง (มีลักษณะเป็นแกซ)
(n)รังสีSee Also:รัศมี, ลำแสงSyn.beam, flash, light, gleam
(vi)ปล่อยรังสีSee Also:ปล่อยรัศมี
(n)หน่วยวัดปริมาณรังสี
(n)รังสีเอ็กซ์
(n)เครื่องตรวจด้วยเสียงหรือรังสีSee Also:อุปกรณ์รับและส่งสัญญาณ, เครื่องแสกนเนอร์
Hope Dictionary
สัมประสิทธิ์ของอัตราที่ลดลงของความเข็มช้นของรังสีเมื่อผ่านสาร ๆ หนึ่ง
(แอค' ทินัล) adj. ซึ่งมีหนวดหรือส่วนยื่นหรือรังสี (having tentacles or rays)
(แอคทิน' นิค) adj. เกี่ยวกับคุณสมบัติของการแผ่รังสี, มีรังสี (pertaining to actinism)
รังสีคลื่นสั้น, รังสีพันสีม่วง (which produces photochemical effects)
(แอค' ทิไนดฺ) chem. อนุกรมของธาตุกัมมันตภาพรังสีที่เริ่มจากธาตุ Actinium จนถึงธาตุ Lawrencium
(แอค' ทินิสซึม) n. คุณสมบัติการแผ่รังสีซึ่งมีผลทางเคมี
(แอคทิน' เนียม) n. ธาตุกัมมันตภาพรังสีที่มีสัญลักษณ์ AC; at. no, :89; at. wt.: 227; half life: 13.5 years
(คำเสริมหน้า) เกี่ยวกับการแผ่กัมมันตภาพรังสี, เกี่ยวกับการแผ่ออก.Syn.actin-
(แอค' ทินอยด์) adj. ซึ่งคล้ายรังสี
(แอคทินอม' มิเทอะ) n. เครื่องมือวัดความเข้มข้นการแผ่รังสี. -actinometric adj. actinometry n.
(แอคทิโนยูเร' เนียม) n. isotope ของ uranium มันมีกัมมันตภาพรังสี และมีมวลเท่ากับ 235 (a radioactive isotope of uranium)
(แอค' ทิเวท) vt. กระตุ้น, ทำให้เกิดภาวะกัมมันตภาพรังสี. -activator n.
(แอค' ทิฟว) adj. คล่องแคล่ว, กระตือรือร้น, สามารถเคลื่อนไหวเองได้, มีลักษณะเป็นกัมมันตภาพรังสี, มีประสิทธิภาพ, เป็นผลเร็ว, สมมันต์, สกรณ์ -activism n.Syn.energize
ขบวนการแผ่กัมมันตภาพรังสีที่อนุภาคแอลฟ่าถูกขับออกจากนิวเคลียสของอะตอม ทำให้ atomic number ลดลงไปสอง
ลำของกลุ่มอนุภาคแอลฟ่า, รังสีแอลฟ่า
(แอมมะริช' เชียม) n. ธาตุกัมมันตภาพรังสีที่เกิดจากการยิงธาตุฮีเลียมด้วยธาตุยูเรเนียมและพลูโตเนียม (a radioactive element)
ปริมาณสารกัมมันตภาพรังสีที่ใช้ในการรักษาหรือวินิจฉัยมะเร็ง
(ออโทรเร'ดีโอกราฟ) n. ภาพถ่ายแสดงการมีสารกัมมันตภาพรังสีสะสมอยู่.Syn.radioautograph -autoradiography n.
(บีม) n. คาน, ไม้ขวาง, ขื่อแป, รอด, คร่าว, คันรถ, คันชั่ง, คันไถ, แกนที่ม้วนได้, คานหาม, เขาแกน, ลำแสง, ลำรังสีขนานกัน, สัญญาณวิทยุ, สีหน้าที่ปิติยินดี vi. แผ่รังสีหรือลำแสง, ส่งสัญญาณวิทยุ, เปล่งยิ้มหรือมีสีหน้าที่ปิติยินดี
n. ธาตุคาร์บอนกัมมันตภาพรังสี. ดู radiocarbon
n. ธาตุคาร์บอนกัมมันตภาพรังสี. ดู radiocarbon
(คลีน) adj. สะอาด, เกลี้ยง, หมดจด, ไม่มีมลทิน, บริสุทธิ์, สุจริต, ไม่หยาบคาย, ไม่มีกัมมันตภาพรังสี, ไม่มีรอยแก้, ไม่มีอุปสรรค์, เป็นระเบียบเรียบร้อย, ไม่มีทั้งสิ้น, ไร้เดียงสา, ไม่มีอาวุธซ่อนอยู่ -adv. อย่างสะอาด, รักสะอาด, สมบูรณ์, ทั้งหมด, ทั้งสิ้น. vt. ลบออก, ขจัดออก. v
(คิว'รี) n. หน่วยกัมมันตภาพรังสี
(ดีแอค'ทะเวท) vt. ทำให้เคลื่อนไหวไม่ได้, ยับยั้งฤทธิ์ของ, ทำให้ใช้การไม่ได้, ทำให้ไม่ได้ผล vi. สูญเสียกัมมันตรังสี.See Also:deactivator n. ดูdeactivate deactivation n. ดูdeactivate
(ดิเค') { decayed, decaying, decays } vt., n. (การ) เน่าเปื่อย, ผุพัง, เสื่อมลง, ปล่อยกัมมันตภาพรังสี vi. ทำให้เน่าเปื่อย, ทำให้ผุพัง, ทำให้เสื่อมลง.Syn.deteriorate
(เดอร์'ที) adj. สกปรก, น่าเกลียด, ชั่วช้า, เลวทราม, ไม่ชัดเจน, ลามก, แพศยา, น่าเบื่อหน่าย, โชคร้าย, สลัว, ทึมทึบ, น่าเสียใจ, ซึ่งปล่อยกัมมันตภาพรังสีออกมาค่อนข้างมาก, เป็นหนอง, ลาม (บาดแผล) . vt. ทำให้สกปรก, ทำให้เปรอะเปื้อนSyn.soiled
(โดสฺ) n. ปริมาณยาที่ให้ต่อครั้ง, ปริมาณรังสีที่ให้ต่อครั้ง vt. ให้ยาvi. รับยา
(โดซิม'มิเทอะ) n. อุปกรณ์วัดปริมาณกับมันตรังสี, การวัดปริมาณยาที่ให้.See Also:dosimetric adj.
(อิฟัล'เจินทฺ) adj. โชติช่วง, เปล่งปลั่ง, ส่งรังสีSee Also:effulgence n. ดูeffulgent
ธาตุกัมมันตรังสีชนิดหนึ่ง, Es.
(อิเร'ดิเอท) vi., vt. ปล่อยรังสี, แผ่รังสีSee Also:eradiation n. ดูeradiate
(แฟรน'เซียม) n. ธาตุกัมมันตรังสีชนิดหนึ่ง, Fr
จอภาพก๊าซพลาสมาหมายถึง จอภาพพิเศษที่ออกแบบให้ใช้เฉพาะกับเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดวางตัก (laptop) จอภาพชนิดนี้จะให้ความสว่างเรืองรองออกเป็นสีส้ม ดูคล้าย ๆ กับกัมมันตภาพรังสี ใช้กำลังไฟสูง ราคาแพง และมักจะไม่มีสี (มีแต่สีขาว/ดำ) ปัจจุบันจอโทรทัศน์ก็ใช้จอแบบเดียวกันนี้ แต่มีสีสันสวยงาม
(ไก'เกอะเคา'เทอะ) n. เครื่องตรวจรังสิ' (โดยเฉพาะกัมมันตภาพรังสี)
n. ระยะเวลาที่อะตอมครึ่งหนึ่งของปริมาณสารกัมมันตรังสีที่กำหนดให้ที่จะสลายตัว -pl. half-livesSyn.half-life period
(อิน' ซิเดินซฺ) n. การบังเกิด, เหตุการณ์, การที่รังสีหรือลำแสงกระทบผิวหน้า
(อินฟราเรด') n. รังสีใต้แดง มีความยาวคลื่นแสง0.8 - 1, 000ไมครอนส์ เป็นรังสีที่มองไม่เห็น.Syn.infra-red
(อิเรดิเอ'เชิน) n. การฉายรังสี, การส่องสว่าง, ปริมาณรังสีที่กระทบต่อหน่วยพื้นที่Syn.irradiating, beam
(ไอ'โซโทพฺ) n. ธาตุที่มีคุณสมบัติทางเคมีเหมือนกันแต่ต่างกันที่น้ำหนักอะตอมและประจุไฟฟ้าisotopeหลายชนิดที่มีกัมมันตภาพรังสี
(เมนดะลี'เวียม) n. ธาตุกัมมันตรังสีที่มนุษย์สร้างขึ้น
(โฟโทเซน'ซิทิฟว) adj. ไวต่อแสงหรือรังสีอย่างผิดปกติ.See Also:photosensitivity n. photosensitiveness n.
(พลูโท'เนียม) n. ธาตุกัมมันตภาพรังสีชนิดหนึ่ง; Pu
(ควอน'ทัม) n. หน่วยของพลังงานรังสีSyn.radiant energy
(เร'เดียนทฺ) adj. ซึ่งออกจากจุดศูนย์กลาง, ปล่อยแสง, สว่าง, ส่องสว่าง, ส่องสว่าง. n. รังสีที่แผ่ออกSyn.shining, bright
(เร'ดิเอท) vi. แผ่รังสี, ปล่อยออกมาเหมือนรังสี, ปล่อยออกจากจุดศูนย์กลาง, แวววาวไปด้วย. adj. ออกจากจุดศูนย์กลาง, ซึ่งมีรังสีออกจากจุดสูนย์กลางSee Also:radiability n. radiably, adv.Syn.shine, spread out
(เรดิเอ'เชิน) n. การแผ่รังสีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า, พลังงานรังสี, สิ่งที่ถูกปล่อยออกจากจุดศูนย์กลาง, กัมมันตภาพรังสี.
(เร'ดิเอเทอะ) n. สิ่งที่ปล่อยรังสี, เครื่องนำความร้อน, หม้อน้ำรถยนต์, หม้อที่ต่อกับท่อน้ำร้อนริมผนัง
(เร'ดิโอ) n. วิทยุ. adj. เกี่ยวกับวิทยุหรือใช้รังสี. -v. ถ่ายทอดโดยวิทยุ
Pref. วิทยุ, ธาตุradium, มีกัมมันตภาพรังสี, เป็นรังสี, ปล่อยออกจากจุดกลาง
(เรดิโอแอค'ทิฟว) adj. เกี่ยวกับหรือเกิดจากกัมมันตภาพรังสี.
Nontri Dictionary
(vi)เปล่งแสง, สว่าง, แผ่รังสี, ส่งสัญญาณวิทยุ, ยิ้ม
(vi)ฉายแสง, ฉายรังสี
(vi, vt)แผ่รังสี, ส่งแสง, กระจายเสียง, ปล่อยออกมา
(n)กัมมันตภาพรังสี, การส่งแสง, การแผ่รังสี, การฉายแสง
(n)หม้อน้ำรถยนต์, ท่อนำความร้อน, ผู้ปล่อยรังสี
(n)รังสี, รัศมี, ขอบเขต
(n)รังสี, ปลากระเบน
(vi)ปล่อยแสง, ปล่อยรังสี, ปล่อยรัศมี
(n)รังสีเอกซ์, ภาพเอกซ์เรย์
Longdo Unapproved EN-TH**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
(n)ปริมาณรังสีดูดซึม--ปริมาณพลังงานรังสีนิวเคลียร์(หรืออนุภาคไออน) ที่แผ่ออกมาซึ่งหน่วยมวลของวัตถุรับไว้ หน่วยพลังงานรังสีนี้เรียกว่า "แรด"
การวัดปริมาณรังสีที่ดูดซึม (ตามเนื้อเยื่อที่มีชีวิต) โดยเฉพาะอย่างยิ่งเพื่อตรวจสอบความหนาแน่น
โรคโลหิตจางที่มีลักษณะบกพร่องของอวัยวะที่ก่อให้เกิดเลือด (เช่นไขกระดูก) และเกิดจากสารพิษ (เช่นสารเคมีหรือรังสีเอกซ์) หรือไม่ทราบสาเหตุในแหล่งกําเนิด
(n)การตรวจดูอวัยวะภายในร่างกายโดยใช้รังสี ซึ่งภาพที่เกิดขึ้นจะมีลักษณะเป็น real time แสดงบนหน้าจอ monitor digital fluoroscopy
(n)หน่วยวัดปริมาณรังสี
เทคนิคการวินิจฉัยที่ภาพสองมิติของเนื้อเยื่อภายในร่างกายมีการผลิตผ่านการตรวจสอบของรังสีที่ออกมาจากสารกัมมันตรังสีที่ได้รับการจัดการในร่างกาย ที่เกี่ยวข้องกับ, ตั้งอยู่ในหรือใกล้, ผลิตใน, หรือส่งผลกระทบต่อตับและน้ำดี, ท่อน้ำดี, และถุงน้ำดี
[เรดิเอเตอร์](n)ธาตุกัมมันตรังสี, ธาตุที่สามารถแผ่รังสีได้ (ธาตุสุดท้ายของแต่ละหมู่ของตารางธาตุและธาตุที่ไม่เสถียรต่างๆ)
[เรดิโอโลจิคัล เทคโนโลจีส](n, uniq)นักรังสีเทคนิค
(n)การสร้างภาพตัดขวางของรูปทรงโดยใช้เทคนิคต่างๆ ดังเช่น จากการสั่นพ้องของคลื่นสนามแม่เหล็ก หรือ จากรังสีเอกซ์ด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์
Longdo Approved JP-TH
[しがいせん, shigaisen](n)รังสีอัลตราไวโอเลต
[せきがいせん, sekigaisen](n)รังสีอินฟราเรด
Longdo Unapproved JP-TH**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
放射能汚染
[ほうしゃのうおせん, houshanouosen]การเปรอะเปื้อนสารกัมมันตรังสี
放射能
[ほうしゃのう, houshanou](n)กัมมันตภาพรังสีSee Also:R. radioactivity
放射性廃棄物
[ほうしゃせいはいきぶつ, houshaseihaikibutsu](n)กากกัมมันตรังสีSee Also:R. radioactive waste
Saikam JP-TH-EN Dictionary
日射し
[ひざし, hizashi] TH: รังสีจากดวงอาทิตย์
日射し
[ひざし, hizashi] EN: rays of the sun
Longdo Approved DE-TH
(n)|die, pl. Tomografien| การสร้างภาพตัดขวางของรูปทรงโดยใช้เทคนิคต่างๆ ดังเช่น จากการสั่นพ้องของคลื่นสนามแม่เหล็ก หรือ จากรังสีเอกซ์ด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์
(n)|die, pl. Computertomografien| วิธีการสร้างภาพตัดขวางจากรังสีเอกซ์ด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ ทำให้ได้ภาพตัดขวางของส่วนของร่างกายออกมาเป็นดิจิตัลหรือตัวเลข
(n)|die, pl. Computertomographien| ระบบสร้างภาพตัดขวางจากรังสีเอกซ์ด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์Syn.Computertomografie
เพิ่มคำศัพท์
add
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ