74 ผลลัพธ์ สำหรับ 

*ระเบียน*

 ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น: ระเบียน, -ระเบียน-
NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
(n)registerSee Also:recordSyn.ทะเบียนExample:คนที่หยิบระเบียนในที่ทำงานคงพบว่า ถ้าแฟ้มต่างๆ ได้เรียงเอาไว้ตามตัวอักษร จะทำให้จำได้ง่ายว่าแฟ้มไหนอยู่ตรงไหน
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
น. กระเบากลัก. (ดู กระเบา ๑).
ชื่อไม้ต้นผลัดใบขนาดเล็กชนิด Ceriscoides turgida (Roxb). Tirveng ในวงศ์ Rubiaceae ขึ้นในป่าเต็งรังและป่าเบญจพรรณ ต้นมีหนามห่าง ๆ เปลือกเรียบ ดอกเมื่อแรกบานสีขาว แล้วเปลี่ยนเป็นสีเหลืองอ่อน ผลคล้ายละมุดฝรั่ง แต่สุกแล้วแข็ง, กระดานพน มะกอกพราน หมุยขาว หรือ หัวโล้น ก็เรียก.
น. ทะเบียน, แบบ, เช่น ระเบียนประจำตัวนักเรียน.
ดู กระเบียน (๒).
น. ชื่อไม้ต้นขนาดย่อมถึงขนาดใหญ่หลายชนิดในสกุล Hydnocarpus วงศ์ Flacourtiaceae เช่น กระเบาใหญ่หรือกระเบานํ้า ( H. anthelminthicaPierre ex Laness.) เป็นไม้ต้นขนาดใหญ่ ผลกลม เปลือกแข็ง มีขนสีนํ้าตาล ขนาดเท่าผลส้มโอขนาดย่อม เนื้อในเป็นแป้งสีเหลืองอ่อน ๆ กินได้ เมล็ดมีนํ้ามัน เคยใช้เป็นยาแก้โรคเรื้อน ต้นที่มีแต่ดอกเพศผู้ เรียกว่า แก้วกาหลง, กระเบากลักหรือกระเบียน ( H. ilicifolia King) เป็นไม้ต้นขนาดกลาง ผลกลม เปลือกแข็ง มีขนสีดำ ขนาดเท่าผลส้มเกลี้ยง.
น. ชื่อไม้ต้นขนาดย่อมชนิด Gardenia obtusifolia Roxb. ex Kurz ในวงศ์ Rubiaceae คล้ายกระเบียน (๒) ซึ่งอยู่ในวงศ์เดียวกัน แต่ใบคายและเล็กกว่า ปลายใบป้าน ยอดอ่อนมียางเหนียว ผลย่อมกว่า เนื้อไม้ขาวละเอียด ใช้แกะสลักได้.
ดู กระเบียน (๒).
ดู กระเบียน (๒).
ดู กระเบียน (๒).
ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
ระเบียนอารักขา[คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
ระเบียนเชิงกายภาพ[คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
ทะเบียนประวัติบุคลากร, ระเบียนบุคลากร[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
ระเบียนเชิงตรรกะ[คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
รูปแบบระเบียน[คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
ส่วนหัวระเบียน[คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
ผังระเบียน[คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
ทะเบียนประวัติบุคลากร, ระเบียนบุคลากร[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
๑. ระเบียน๒. บันทึก[คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
ระเบียน, ทะเบียนประวัติ[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
บันทึก, ระเบียน[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
ระเบียนแก้ไข[คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
๑. ส่วนหัวกลุ่มระเบียน๒. ส่วนหัวบล็อก[คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
ความยาวกลุ่มระเบียน[คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
การจัดเป็นกลุ่มระเบียน[คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
จำนวนระเบียนต่อกลุ่ม[คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
ระเบียนการเกิด[ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕]
๑. กลุ่มระเบียน๒. บล็อก[คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
๑. กลุ่มระเบียน๒. บล็อก[เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
ระเบียนสมรส[ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕]
ระเบียนเปลี่ยนแปลง [ มีความหมายเหมือนกับ transaction record ][คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
ระเบียนสั่งลบ[คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
ระเบียนการตาย[ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕]
การแตกกลุ่มระเบียน[คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
๑. ช่องว่างระหว่างกลุ่มระเบียน๒. ช่องว่างระหว่างบล็อก [ มีความหมายเหมือนกับ interrecord gap ][คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
ช่องว่างระหว่างระเบียน [ มีความหมายเหมือนกับ interblock gap ๒ ][คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
ระเบียนชีพ, บันทึกเหตุการณ์สำคัญในชีวิต[ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕]
กลุ่มระเบียนความยาวแปรได้[คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
ระเบียนความยาวแปรได้[คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
ระเบียนท้าย[คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
ระเบียนรายการเปลี่ยนแปลง [ มีความหมายเหมือนกับ change record ][คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
ระเบียนหัวเรื่อง[คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
ระเบียนExample:กลุ่มของข้อมูลเกี่ยวกับคน สถานที่ เหตุการณ์ หรือสิ่งต่างๆ เช่นข้อมูลที่เกี่ยวกับคนไข้ได้แก่ ชื่อ ที่อยู่ เพศ วันเกิด อาการเจ็บบป่วย รวมเป็นเวชระเบียน (medical record) ข้อมูลเกี่ยวกับนักเรียนได้แก่ ชื่อ ที่อยู่ เพศ วันเกิด ชื่อผู้ปกครอง คะแนนสอบ ฯลฯ ก็รวมเป็นระเบียนนักเรียน[คอมพิวเตอร์]
เวชระเบียน[TU Subject Heading]
เวชระเบียนแบบวิธีการแก้ปัญหา[TU Subject Heading]
ระเบียน, กลุ่มข้อมูลที่มีความสัมพันธ์กัน โดยข้อมูลแต่ละส่วนอาจจะเป็นข้อมูลต่างชนิดกัน[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
ระเบียนสุขภาพ[การแพทย์]
เวชระเบียน, รายงานการรักษา, บันทึกเวชระเบียน[การแพทย์]
Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
[rabīen] (v) EN: record ; register  FR: enregistrer
[rabīen khømūn] (n) EN: data record  FR: enregistrement [ m ]
Longdo Approved EN-TH
(n, phrase)ระเบียนสะสม
Hope Dictionary
(แอน' นิคโดทิจ) n. ประวัติรวม, ระเบียนเกร็ดพฤติการณ์, เกล็ดพฤติการณ์, เกล็ดประวัต
แฟ้มข้อมูลแอสกี <คำแปล>หมายถึงแฟ้มข้อมูลที่ไม่ใช่โปรแกรม มีตัวอักขระที่ใช้เป็นรหัสแอสกีทั้งหมด บางที เรียกว่า " text file " แฟ้มแอสกี (ASCII file) มีลักษณะเฉพาะคือเป็นแฟ้มที่ไม่มีรูปแบบในการจัดหน้า ข้อความจะยาวไปเรื่อย ๆ โดยไม่มีการขึ้นบรรทัดใหม่ นอกจาก จะเริ่มระเบียนใหม่ โปรแกรมเวิร์ด สตาร์ (WordStar) เป็นผู้นำคำนี้มาใช้ก่อน (ตรงข้ามกับ document file ซึ่งหมายถึง แฟ้มข้อมูลที่มีการจัดรูปหน้าไว้แล้ว) ส่วนมากจะใช้ศัพท์นี้เมื่อต้องการเปลี่ยน (convert) แฟ้มข้อมูลของโปรแกรมหนึ่งเป็นอีกโปรแกรมหนึ่ง เช่นจาก Word Perfect เป็น Microsoft Word ในกรณีเช่นนี้ อาจจะมีเมนูให้เลือกได้ว่าจะเปลี่ยนเป็น text file หรือ ASCII file หรือไม่ ซึ่งก็หมายความว่าเปลี่ยนเป็นแฟ้มข้อมูลที่ใช้รหัสแอสกีทั้งหมด ทำให้สามารถใช้ร่วมกันได้ ภายใต้ระบบปฏิบัติการเดียวกัน นิยมใช้กันมากในระบบสื่อสารและถ่ายโอนแฟ้มข้อมูล
จำนวนระเบียนต่อกลุ่มหมายถึง จำนวนระเบียนในหนึ่งบล็อก (block) ในการบันทึกข้อมูลลงแถบบันทึก (tape) นั้น จะบันทึก 1 ระเบียน (record) ต่อ 1 บล็อก หรือหลายระเบียนต่อ 1 บล็อกก็ได้ดู block ประกอบ
(คาระเบียน') adj. เกี่ยวกับทะเลคาริบเบียน
เขตข้อมูลหมายถึง ที่ซึ่งใช้เก็บข้อมูลเฉพาะในโปรแกรมประเภทการจัดการฐานข้อมูล โดยจัดแบ่งให้แต่ละเขตเก็บข้อมูลแต่ละเรื่อง เช่น แบ่งเป็นเขต ชื่อ นามสกุล ที่อยู่ หมายเลขโทรศัพท์ อายุ เพศ ฯ ถ้าเรานำเขตข้อมูลเหล่านี้หลาย ๆ เขตมารวมกัน จะเรียกว่า "ระเบียน" (record)
ระเบียนข้อมูลหมายถึง หน่วยหนึ่งของข้อมูลที่บันทึกไว้ในฐานหรือคลังข้อมูล โดยปกติ ระเบียนหนึ่งจะประกอบด้วยเขตข้อมูล (field) 1 เขตขึ้นไป เช่น ระเบียนของพนักงานของบริษัทแห่งหนึ่ง ประกอบด้วยเขตข้อมูล 10 เขต มี ชื่อ นามสกุล ที่อยู่ วันเข้าทำงาน เงินเดือนที่ได้รับ ตำแหน่งปัจจุบัน ฯ เป็นต้น ดู data field ประกอบ
โครงสร้างข้อมูลหมายถึง รูปแบบของการจัดระเบียบของข้อมูล ซึ่งมีอยู่หลายรูปแบบ ศัพท์ต่าง ๆ ในเรื่องของโครง สร้างของข้อมูลที่คุ้นหู มีอยู่หลายคำ เช่น เขตข้อมูล (field) , แถวลำดับ (array) , ระเบียน (record) , ต้นไม้ (tree) , รายการโยง (linked list) เป็นต้น
(ดิลีท') vt. ลบออก, เอาออก ลบทิ้งลบออกลบ1. หมายถึง แป้นสำหรับสั่งให้ลบทิ้ง การกดแป้นนี้ จะทำให้ลบตัวอักขระที่ตัวชี้ตำแหน่ง (cursor) นำอยู่ออก ตัวอักขระที่อยู่ถัดไปจะเลื่อนขึ้นมาทางซ้ายอีกตำแหน่งหนึ่งตามกันมาเป็นกระบวน2. ในความหมายทางคอมพิวเตอร์ที่แท้จริงนั้น หมายถึง การลบข้อความหรือข้อมูล หรือระเบียน ออกจากแฟ้มข้อมูล (file) หรือฐานข้อมูล (database) 3. ในระบบดอส ใช้เป็นคำสั่งลบชุดคำสั่ง (program) หรือแฟ้มข้อมูล (file) ที่เก็บไว้ในจานบันทึก (disk) เช่นเดียวกับคำสั่ง ERASE อาจใช้ตัวย่อว่า DEL ก็ได้ เช่น A>DEL* . BASมีความหมายเหมือน erase
(ฟีลดฺ) { fielded, fielding, fields } n. ทุ่ง, ทุ่งนา, ทุ่งกว้าง, เขตเหมืองแร่, สนาม, อาณาจักร, ขอบเขต, พื้น, ลาน vt. เก็บได้ลูก (บอล) , จับลูกได้ vi. เป็นคนรับลูกในการเล่น (บาสเก็ตบอล, คริคเก๊ต)Syn.area หมายถึง ที่ซึ่งใช้เก็บข้อมูลเฉพาะในโปรแกรมประเภทการจัดการฐานข้อมูล โดยจัดแบ่งให้แต่ละเขตเก็บข้อมูลแต่ละ เรื่อง เช่น แบ่งเป็นเขต ชื่อ นามสกุล ที่อยู่ หมายเลขโทรศัพท์ อายุ เพศ ฯ ถ้าเรานำเขตข้อมูลเหล่านี้ หลาย ๆ เขตมารวมกัน จะเรียกว่า "ระเบียน" record
เครื่องหมายแฟ้มเครื่องหมายหรือรหัสที่บอกว่า คอมพิวเตอร์ได้อ่านถึงระเบียนสุดท้ายของแฟ้มข้อมูลแล้ว
(ไฟดฺ) { found, found, finding, finds } vt. พบ, ประสบ, หา, ได้รับ, จัดหา, ไปถึง, ตัดสิน, ชี้ขาด, บรรลุ, ก่อให้เกิด. vi. รู้สึก, เห็นว่า, ตัดสิน, ชี้ขาด, ลงความเห็น.See Also:find oneself รู้ถึงความสามารถของตนและรู้วิธีใช้มัน. -Phr. all found ทุกสิ่งทุกอย่างที่ต้อง หาเป็นคำสั่งหนึ่งที่ให้ตรวจค้นหาข้อมูลที่ต้องการในแฟ้มใดแฟ้มหนึ่ง ถ้าเป็นโปรแกรมประมวลผลคำ word processing เราอาจค้นหาได้เป็นคำ ๆ ไป ถ้าเป็นโปรแกรมฐานข้อมูล database management เราจะสามารถค้นหาไปทีละระเบียน record บางทีอาจใช้หมายถึงการค้นหาแฟ้มข้อมูลว่าเก็บไว้ในสารบบ directory ใด เป็นคำสั่งหนึ่งในระบบวินโดว์ด้วย อยู่ใต้เมนู File มีความหมายเหมือน search
(ไอบีจี) ย่อมาจาก interblock gap (ช่องว่างระหว่างบล็อก) ในการบรรจุข้อมูลลงในแถบบันทึกหรือเทป (tape) นั้นเราจะบรรจุลงเป็นระเบียน (record) หน่วยขับแถบบันทึกหรือเทป (tape drive) จะจัดให้มีช่องว่างระหว่างระเบียน (record) เพื่อไว้ช่วยในการปรับความเร็วในการอ่านและบันทึก (read/wtite) แต่ยิ่งมีระเบียนมาก ก็จะยิ่งเสียเนื้อที่ของเทปมากเพราะจะต้องมีช่องว่างมาก เพื่อเป็นการลดช่องว่าง จึงนิยมนำหลาย ๆ ระเบียนมารวมกัน เรียกว่า กลุ่มระเบียน หรือบล็อก และระหว่างกลุ่มแต่ละกลุ่ม ก็จะมีช่องว่าง ซึ่งเรียกว่า ช่องว่างระหว่างกลุ่มระเบียนดู interrecord gap เปรียบเทียบ
แฟ้มดรรชนีหมายถึง แฟ้มพิเศษต่างหากที่บอกตำแหน่งที่อยู่ของระเบียนต่าง ๆ ที่เก็บ ไว้ในแฟ้มฐานข้อมูล (database file) การหาข้อมูลด้วยวิธีนี้ จะทำได้เร็วมาก
ช่องว่างระหว่างบล็อกใช้ตัวย่อว่า IBG (อ่านว่า ไอบีจี) ในการบรรจุข้อมูลลงในแถบบันทึกหรือเทป (tape) นั้นเราจะบรรจุลงเป็นระเบียน (record) หน่วยขับแถบบันทึกหรือเทป (tape drive) จะจัดให้มีช่องว่างระหว่างระเบียน (record) เพื่อไว้ช่วยในการปรับความเร็วในการอ่านและบันทึก (read/wtite) แต่ยิ่งมีระเบียนมาก ก็จะยิ่งเสียเนื้อที่ของเทปมากเพราะจะต้องมีช่องว่างมาก เพื่อเป็นการลดช่องว่าง จึงนิยมนำหลาย ๆ ระเบียนมารวมกัน เรียกว่า กลุ่มระเบียน หรือบล็อก และระหว่างกลุ่มแต่ละกลุ่ม ก็จะมีช่องว่าง ซึ่งเรียกว่า ช่องว่างระหว่างกลุ่มระเบียนดู interrecord gap เปรียบเทียบ
ช่องว่างระหว่างระเบียนใช้ตัวย่อว่า IRG ในการบรรจุข้อมูลลงในแถบบันทึกหรือเทป (tape) นั้น เราจะบรรจุเป็นระเบียน (record) เรียงกันไป หน่วยขีบเทป (tape drive) จะจัดให้มีช่องว่างระหว่างระเบียน เพื่อไว้ช่วยในการปรับความเร็วในการอ่านและบันทึก (read/write) ดู interblock gap เปรียบเทียบ
แฟ้มผกผันหมายถึง โครงสร้างของแฟ้มข้อมูลชนิดหนึ่ง ที่มีดรรชนีคอยบ่งบอกถึงที่อยู่ (location) ของระเบียน (record) ที่มีการเรียกใช้บ่อย ๆ หรือระเบียนที่มีลักษณะตามที่กำหนด
(ไออาร์จี) ย่อมาจาก interrecord gap ที่แปลว่า ช่องว่างระหว่างระเบียน ในการบรรจุข้อมูลลงในแถบบันทึกหรือเทป (tape) นั้น เราจะบรรจุเป็นระเบียน (record) เรียงกันไป หน่วยขีบเทป (tape drive) จะจัดให้มีช่องว่างระหว่างระเบียน เพื่อไว้ช่วยในการปรับความเร็วในการอ่านและบันทึก (read/write) ดู interblock gap เปรียบเทียบ
แฟ้มแอสกีเป็นลักษณะของแฟ้มข้อมูลแบบหนึ่ง มีใช้เฉพาะในโปรแกรมประมวลผลคำ (word processing) บางทีเรียกว่าแฟ้มแอสกี (ASCII file) มีลักษณะเฉพาะคือเป็นแฟ้มที่ไม่มีรูปแบบในการจัดหน้า ข้อความจะยาวไปเรื่อย ๆ โดยไม่มีการขึ้นบรรทัดใหม่ นอกจาก จะเริ่มระเบียนใหม่ โปรแกรมเวิร์ดสตาร์ (WordStar) เป็นผู้นำคำนี้มาใช้ก่อน ตรงข้ามกับ document file ซึ่งหมายถึง แฟ้มข้อมูลที่มีการจัดรูปหน้าไว้แล้วดู document file เปรียบเทียบ
แฟ้มสุ่มหมายถึง แฟ้มข้อมูลที่จัดเก็บระเบียน (record) กระจายออกไปในเนื้อที่จัดเก็บบนสื่อต่าง ๆ (medium) โดยไม่เรียงไปตามลำดับก่อนหลังอย่างแฟ้มลำดับ (sequential file) ตำแหน่งของระเบียนมักจะขึ้นอยู่กับเขตหลัก (key field) เขตหลักนี้จะขึ้นกับฟังก์ชันแบบแฮช (hashing function) เพื่อระบุตำแหน่งที่แน่นอนในที่จัดเก็บมีความหมายเหมือน direct fileดู random access ประกอบ
(เรค'เคิร์ด) n. บันทึก, การบันทึก, สำนวน, สิ่งที่บันทึกไว้, ประวัติ, เอกสาร, หลักฐานที่บันทึกหรือเก็บไว้, จานเสียง, แผ่นเสียง, เทปบันทึก vt., vi. (รีคอร์ด') บันทึก, ลงบันทึก adj. เป็นบันทึก, เกี่ยวกับบันทึก, ยอดเยี่ยม, ทำลายสถิติ, ตีกว่าคนอื่น ๆ ทั้งหมด, -Phr. (on record เป็นที่รู้กัน) ระเบียนบันทึก1. หมายถึงหน่วยหนึ่งของข้อมูลที่บันทึกไว้ในฐานหรือคลังข้อมูลโดยปกติ ระเบียนหนึ่งจะประกอบด้วยเขตข้อมูล (field) 1 เขตขึ้นไป เช่น ระเบียนของพนักงานของบริษัทแห่งหนึ่ง ประกอบด้วยเขตข้อมูล 10 เขต มี ชื่อ นามสกุล ที่อยู่ วันเข้าทำงาน เงินเดือนที่ได้รับ ตำแหน่งปัจจุบัน ฯ เป็นต้น ดู field ประกอบ2. ในอีกความหมายหนึ่ง แปลว่า บันทึกเก็บในหน่วยความจำหรือในสื่อที่ใช้เก็บข้อมูลชนิดใดชนิดหนึ่ง เช่น จานบันทึก (ในภาษาอังกฤษ มักใช้คำว่า write แทนมากกว่า)
(เซค'เทอะ) n. รูปตัด, รูปตัดที่อยู่ระหว่างเส้นรัศมี2เส้นกับส่วนของเส้นรอบวง, อุปกรณ์คณิตศาสตร์ที่ประกอบด้วยไม้บรรทัด2อันที่ติดกันที่ปลายหนึ่งและมีขีดแบ่งมาตราส่วน vt. แบ่งออกเป็นส่วน ๆ เซ็กเตอร์วิธีการจัดรูปแบบการบันทึกข้อมูลลงบนจานบันทึกนั้น จะต้องมีการกำหนดให้เป็นวง เรียกว่า แทร็ก (track) ซึ่งจะมีลักษณะเหมือนกับลู่วิ่งวนเป็นวงกลม แล้วแบ่งแต่ละแทร็กนี้ออกเป็นส่วน ๆ เรียกว่า "ส่วนวง" หรือที่ยังนิยมเรียกทับศัพท์กันว่า "เซ็กเตอร์" ก็มีมาก แต่ละส่วนวงนี้จะเก็บข้อมูลได้ 1 ระเบียน (record) ไม่ว่าส่วนวงจะกว้างหรือแคบ (ด้านในที่ติดกับจุดศูนย์กลางจะแคบกว่าด้านนอก)See Also:sectoral adj.Syn.class, ca
ป้ายชื่อท้ายแฟ้มหมายถึงระเบียนสุดท้ายของเทปหรือแถบบันทึก ซึ่งมีหน้าที่บอกจุดสิ้นสุดของการบันทึกบนม้วนเทปนั้น มักจะเป็นที่เก็บข้อความย่อ ๆ เกี่ยวกับเทปนั้นเองมีความหมายเหมือน trailer record ดู header label เปรียบเทียบ
ระเบียนท้ายหมายถึงระเบียนสุดท้ายของเทปหรือแถบบันทึก ซึ่งมีหน้าที่บอกจุดสิ้นสุดของการบันทึกบนม้วนเทปนั้น มักจะเป็นที่เก็บข้อความย่อ ๆ เกี่ยวกับเทปนั้นเอง มีความหมายเหมือน trailer label ดู header label เปรียบเทียบ
เพิ่มคำศัพท์
add
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ