น. กุมาร, เด็กชาย, เช่น เมื่อนั้น พระไชยเชษฐ์ความแสนเสนหา พยายามตามปลอบกุมารา อนิจจาปลื้มใจไม่ดูดี (ไชยเชษฐ์).
ก. ยินดี, ชอบใจ, ปลาบปลื้มใจ, ดีใจมาก, ดีอกดีใจ ก็ว่า.
ก. ยินดี, ชอบใจ, ปลาบปลื้มใจ, ดีใจมาก, ดีเนื้อดีใจ ก็ว่า.
น. ความบันเทิงใจ, ความปลื้มใจ, โดยมากใช้ ปราโมทย์.
(ปฺรา-) น. ความบันเทิงใจ, ความปลื้มใจ, ปราโมทย์ ก็ใช้.
(ปฺรา-) น. ความบันเทิงใจ, ความปลื้มใจ, ปราโมช ก็ใช้.
อาการที่มีความยินดีปลื้มใจ เช่น ปริ่มใจ ปริ่มยิ้ม ปริ่มเปรม.
(ปฺรี-) ก. อิ่มใจ, ปลื้มใจ, ยินดี.
(ปฺรี-, ปฺรี) น. ความอิ่มใจ, ความปลื้มใจ, ความยินดี.
(ปฺรี-) น. ปีติ, ความปลาบปลื้มใจ, ความอิ่มใจ.
น. ความปลาบปลื้มใจ, ความอิ่มใจ.
(-ปฺรี) ว. อิ่มอกอิ่มใจ, ปลาบปลื้มใจ.
(พิด) น. ทรัพย์, ของเครื่องปลื้มใจ.
(พิดสะไหฺม) น. ความรัก, ความปลื้มใจ, ความชื่นชม.
ก. ทำให้ดีใจ, ทำให้ปลาบปลื้มใจ, เช่น ใครรู้แห่งพระแพศยันดร บอกจงอรใจกู (ม. คำหลวง ชูชก).
น. ความเพลิดเพลิน, ความยินดี, ความปลื้มใจ, มักใช้เป็นส่วนท้ายของคำสมาส เช่น จิตกานนท์.
ก. ปลื้มใจ, สบายใจ, ภูมิใจ, ปีติยินดี.