ตัวนำไฟฟ้ายิ่งยวด[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
ตัวนำไฟฟ้ายิ่งยวดอุณหภูมิสูง[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
โพลิเมอร์นำไฟฟ้า[TU Subject Heading]
สภาพการนำไฟฟ้า[TU Subject Heading]
การนำไฟฟ้า (อีซี), Example:สภาพนำไฟฟ้าของสารละลายที่สกัดจากดินที่อิ่ม ตัว ด้วยน้ำหรือของน้ำชลประทาน เดิมมีหน่วยวัดเป็นมิลลิโมห์ (millimho) หรือไมโครโมห์ (micromho) ต่อเซนติเมตรที่ 25 องศาเซลเซียส ปัจจุบันมีหน่วยวัดเป็นเดซิซีเมน (decisemen) ต่อเมตรที่ 25 องศาเซลเซียส ใช้เป็นดัชนีบอกระดับความเค็มของดินหรือน้ำชลประทานที่ใช้ในการเกษตร [สิ่งแวดล้อม]
สภาพนำ หรือสภาพนำไฟฟ้า[สิ่งแวดล้อม]
สารเคมีที่เติมลงไปในยางเพื่อช่วยลดการสะสมของประจุไฟฟ้าบนผิวยาง เช่น เขม่าดำเกรดที่นำไฟฟ้าได้ดี (Conductive black) เกลือของแอมโมเนียม เป็นต้น[เทคโนโลยียาง]
การนำไฟฟ้า, ความนำไฟฟ้า[การแพทย์]
การนำ, ความสามารถในการนำ, การนำไฟฟ้า, อำนาจสื่อนำ, คุณสมบัติการนำไฟฟ้า, การนำสัญญาณ[การแพทย์]
เครื่องมือวัดสภาพนำไฟฟ้า[การแพทย์]
การนำไฟฟ้า, การนำไฟฟ้า[การแพทย์]
การวัดการนำไฟฟ้า[การแพทย์]
การนำไฟฟ้าของสารพวกอิเลกโตรไลท์[การแพทย์]
เครื่องตรวจวัดแบบสภาพนำไฟฟ้า[การแพทย์]
การนำไฟฟ้าสมมูล[การแพทย์]
electrical conductivity, ความนำไฟฟ้า[เทคนิคด้านการชลประทานและการระบายน้ำ]
ขั้วไฟฟ้า, ตัวนำไฟฟ้าที่จุ่มอยู่ในอิเล็กโทรไลต์ ซึ่งจะเป็นส่วนที่เกิดปฏิกิริยาเคมีในเซลล์ไฟฟ้าเคมีหรือเซลล์อิเล็กโทรไลต์[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
กระแสไฟฟ้า, ปริมาณประจุไฟฟ้าที่ผ่านตัวนำไฟฟ้าใน 1 หน่วยเวลา ใช้สัญลักษณ์ I มีหน่วยเป็นแอมแปร์[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
การเหนี่ยวนำไฟฟ้าสถิต, การทำให้เกิดประจุไฟฟ้าบนผิวของตัวนำโดยการนำวัตถุที่มีประจุไฟฟ้าเข้ามาใกล้[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
ขั้วไฟฟ้า, ขั้วตัวนำไฟฟ้าที่จะนำกระแสไฟฟ้าเข้าหรือออกจากระบบ[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
ขั้วไฟฟ้าบวก, ขั้วตัวนำไฟฟ้าที่ต่อกับจุดที่มีศักย์ไฟฟ้าสูงกว่าอีกขั้วหนึ่ง ซึ่งเรียกว่า ขั้วไฟฟ้าลบ[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
ความนำไฟฟ้า, สมบัติในการนำไฟฟ้าของตัวนำ มีค่าเป็นส่วนกลับของความต้านทานไฟฟ้า หน่วยเป็น โอห์ม-1 หรือ ซีเมนส์[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
ซีเมนส์, สัญลักษณ์หน่วยวัดความนำไฟฟ้า ดู siemens[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
ซีเมนส์, หน่วยวัดความนำไฟฟ้าของตัวนำ ใช้สัญลักษณ์ S โดยกำหนดว่า 1 ซีเมนส์ คือ ความนำไฟฟ้าของตัวนำซึ่งมีความต้านทาน 1 โอห์ม[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
ตัวนำ, สารที่มีสมบัติยอมให้ประจุไฟฟ้าผ่านไปได้ เช่น ทองแดง เป็นตัวนำไฟฟ้าที่ดี เป็นต้น[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
ตัวนำไฟฟ้า, สารที่มีสมบัติยอมให้ประจุไฟฟ้าผ่าน หรือสารที่ถ่ายโอนประจุไฟฟ้าได้ดี เช่น โลหะต่าง ๆ เป็นต้น[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
วงจรไฟฟ้า, ตัวนำไฟฟ้าหรือระบบของตัวนำไฟฟ้า ซึ่งนำมาต่อกันเพื่อให้กระแสไฟฟ้าผ่านได้[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
สภาพนำ, ความสามารถในการนำไฟฟ้าของตัวนำ เป็นส่วนกลับของสภาพต้านทานไฟฟ้า มีหน่วยเป็น ซีเมนส์ต่อเมตร (S m-1)[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
สภาพนำยวดยิ่ง, สภาพที่โลหะบริสุทธิ์หรือโลหะผสมบางชนิด เมื่ออุณหภูมิลดลงถึงค่า ๆ หนึ่งหรือต่ำกว่า ความต้านทานของโลหะนั้น จะลดลงเกือบเป็นศูนย์ และจะนำไฟฟ้าได้ดีที่สุด[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
สารกึ่งตัวนำ, สารที่มีสภาพนำไฟฟ้าอยู่ในช่วงระหว่างสภาพนำไฟฟ้าของตัวนำและฉนวน[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
ไส้หลอด, ตัวนำไฟฟ้าซึ่งเป็นส่วนประกอบของหลอดวิทยุ หลอดโทรทัศน์ หรือหลอดไฟฟ้า เมื่อผ่านกระแสไฟฟ้าเข้าไปไส้หลอดจะร้อนให้แสงสว่างหรือปล่อยอิเล็กตรอนได้[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
แกรไฟต์, ผลึกรูปหนึ่งของธาตุคาร์บอนที่เกิดในธรรมชาติ โครงสร้างมีลักษณะเป็นแผ่น ๆ ซ้อนกัน นำไฟฟ้าได้ดีในทิศทางที่ขนานกับชั้นของผลึก มีจุดหลอมเหลว 3730 °C ใช้ประโยชน์ทำไส้ดินสอ ขั้วไฟฟ้า และสารหล่อลื่น เป็นต้น[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
ขั้วไฟฟ้าลบ, ขั้วตัวนำไฟฟ้าที่ต่อกับจุดที่มีศักย์ไฟฟ้าต่ำกว่าอีกขั้วหนึ่ง ซึ่งเรียกว่า ขั้วไฟฟ้าบวก[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
ความนำไฟฟ้า, ดู conductance[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
ความต้านทานไฟฟ้า, สมบัติอย่างหนึ่งของตัวนำที่จะต้านกระแสไฟฟ้า ถ้าตัวนำนั้นยอมให้กระแสไฟฟ้าผ่านไปได้ดีเรียกว่าตัวนำนั้นมีความต้านทานไฟฟ้าน้อย หรือเป็นตัวนำไฟฟ้าที่ดี ความต้านทานไฟฟ้าของตัวนำมีค่าเท่ากับอัตราส่วนระหว่างความต่างศักย์ไฟฟ้าระหว่างปลายของตัวนำกับกระแสไฟฟ้าที่ผ่า[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
การนำไฟฟ้าย้อนขึ้นไปใช้[การแพทย์]