แปลศัพท์
PopThai
dropdown
US
cta
45 ผลลัพธ์ สำหรับ 

*ตำรายา*

 ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น: ตำรายา, -ตำรายา-
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
น. ชื่อเกลือชนิดหนึ่งในตำรายาไทย.
น. ชื่อเกลือชนิดหนึ่งในตำรายาไทย.
(โกด) น. ชื่อเครื่องยาสมุนไพรจำพวกหนึ่ง ได้จากส่วนต่าง ๆ ของพืช มีหลายชนิด คือ โกฐทั้ง ๕ ได้แก่ โกฐหัวบัว โกฐสอ โกฐเขมา โกฐเชียง โกฐจุฬาลัมพา, โกฐทั้ง ๗ เพิ่ม โกฐกระดูก โกฐก้านพร้าว, โกฐทั้ง ๙ เพิ่ม โกฐพุงปลา โกฐชฎามังสี, และมีโกฐพิเศษอีก ๓ ชนิด คือ โกฐกักกรา โกฐกะกลิ้ง และโกฐนํ้าเต้า, ตำรายาแผนโบราณเขียนเป็น โกฎ โกฏ โกฏฐ์ โกด หรือ โกษฐ์ ก็มี.
(-กาละทาด) น. พิกัดตัวยาประเภทหนึ่งในตำรายาไทย จำกัดจำนวนตัวยาแก้ธาตุตามเวลาไว้ ๔ อย่าง คือ เหง้าว่านน้ำ รากเจตมูลเพลิง รากแคแตร รากพนมสวรรค์.
(-ทิบพะยะ-) น. พิกัดตัวยาประเภทหนึ่งในตำรายาไทย จำกัดจำนวนตัวยาอันมีกลิ่นหอมดังยาทิพย์ไว้ ๔ อย่าง คือ ดอกพิกุล รากชะเอมเทศ รากมะกล่ำเครือ รากขิงแครง.
น. พิกัดตัวยาประเภทหนึ่งในตำรายาไทย จำกัดจำนวนผลไม้อันให้คุณไว้ ๔ อย่าง คือ ลูกสมอไทย ลูกสมอพิเภก ลูกมะขามป้อม ลูกสมอเทศ.
(-วาตะผน) น. พิกัดตัวยาประเภทหนึ่งในตำรายาไทย จำกัดจำนวนตัวยาแก้ลมไว้ ๔ อย่าง ได้แก่ เหง้าขิงแห้ง กระลำพัก อบเชยเทศ โกศหัวบัว.
น. พิกัดตัวยาประเภทหนึ่งในตำรายาไทย จำกัดจำนวนตัวยาอันมีรสเผ็ดร้อน ๓ อย่าง คือ พริกไทย ดีปลี ขิงแห้ง.
(-กาละพิด, -กานละพิด) น. พิกัดตัวยาประเภทหนึ่งในตำรายาไทย จำกัดจำนวนตัวยาแก้พิษตามเวลา ๓ อย่าง คือ กระชาย เหง้าข่า รากกะเพรา.
น. พิกัดตัวยาประเภทหนึ่งในตำรายาไทย จำกัดจำนวนตัวยารสเสมอเกสร ๓ อย่าง คือ ผลมะตูมอ่อน เปลือกฝิ่น เกสรบัวหลวง.
(-ทะวาด) น. พิกัดตัวยาประเภทหนึ่งในตำรายาไทย จำกัดจำนวนตัวยาอันมีกลิ่นสำหรับแก้ลม ๓ อย่าง คือ ผลเร่วใหญ่ ผลจันทน์เทศ กานพลู.
(-ฉินทะลามะกา) น. พิกัดตัวยาประเภทหนึ่งในตำรายาไทย จำกัดจำนวนตัวยาแก้ธาตุลามกให้หมดไป ๓ อย่าง คือ โกฐนํ้าเต้า สมอไทย รงทอง.
(-ยานนะรด) น. พิกัดตัวยาประเภทหนึ่งในตำรายาไทย จำกัดจำนวนตัวยาอันทำให้รู้รสอาหาร ๓ อย่าง คือ ไส้หมาก รากสะเดา เถาบอระเพ็ด.
(-ทิบพะยะรด) น. พิกัดตัวยาประเภทหนึ่งในตำรายาไทย จำกัดจำนวนตัวยาอันมีรสดี ๓ อย่าง คือ โกฐกระดูก เนื้อไม้ อบเชยไทย.
(-ทุระวะสา) น. พิกัดตัวยาประเภทหนึ่งในตำรายาไทย จำกัดจำนวนตัวยาแก้ความผิดปรกติของมันเหลว ๓ อย่าง คือ ลูกโหระพาเทศ ลูกกระวาน ลูกราชดัด.
(-ทาด) น. พิกัดตัวยาประเภทหนึ่งในตำรายาไทย จำกัดจำนวนตัวยาอันเป็นวัตถุธาตุ ๓ อย่าง คือ ดอกจันทน์ กระวาน อบเชย.
น. พิกัดตัวยาประเภทหนึ่งในตำรายาไทย จำกัดจำนวนตัวยาอันมีรสดังน้ำทิพย์ ๓ อย่าง คือ รากไทรย้อย รากราชพฤกษ์ รากมะขามเทศ.
(-ปิดตะผน) น. พิกัดตัวยาประเภทหนึ่งในตำรายาไทย จำกัดจำนวนตัวยาอันมีสรรพคุณแก้ดี ๓ อย่าง คือ รากเจตมูลเพลิงเทศ รากผักแพวแดง รากกะเพราแดง.
น. พิกัดตัวยาประเภทหนึ่งในตำรายาไทย จำกัดจำนวนตัวยาอันให้คุณแก่ธาตุทั้ง ๔ จำนวน ๓ อย่าง คือ เหง้ากะทือ เหง้าไพล หัวตะไคร้.
(-สะหฺมุดถาน) น. พิกัดตัวยาประเภทหนึ่งในตำรายาไทย จำกัดจำนวนตัวยาอันมีผลเป็นที่ตั้ง ๓ อย่าง คือ ลูกมะตูม ลูกยอ ลูกผักชีลา.
(-ผะลา) น. พิกัดตัวยาประเภทหนึ่งในตำรายาไทย จำกัดจำนวนตัวยาอันเป็นผลไม้ ๓ อย่าง คือ สมอไทย สมอพิเภก มะขามป้อม.
(-พิดสะจัก) น. พิกัดตัวยาประเภทหนึ่งในตำรายาไทย จำกัดจำนวนตัวยาอันมีรสซึมซาบไวดังกงจักร ๓ อย่าง คือ กานพลู ลูกผักชีล้อม ลูกจันทน์เทศ.
(-เพ็ดสะมะคุน) น. พิกัดตัวยาประเภทหนึ่งในตำรายาไทย จำกัดจำนวนตัวยาอันมีคุณเสมอเพชร ๓ อย่าง คือ ว่านหางจระเข้ ฝักราชพฤกษ์ รงทอง.
(-มะทุรด) น. พิกัดตัวยาประเภทหนึ่งในตำรายาไทย จำกัดจำนวนตัวยาอันมีรสเลิศ ๓ อย่าง คือ นํ้าผึ้ง นํ้าตาล นํ้ามันเนย.
(-หะกะ) น. พิกัดตัวยาประเภทหนึ่งในตำรายาไทย จำกัดจำนวนธาตุที่สำเร็จรูปแล้ว ๓ อย่าง คือ ทอง เงิน ทองเหลือง.
พิกัดตัวยาประเภทหนึ่งในตำรายาไทย จำกัดจำนวนตัวยาอันเป็นธาตุที่ถลุงเป็นรูปแล้ว ๓ อย่าง คือ ทองแดง ทองเหลือง ทองหล่อ (ทองสัมฤทธิ์).
(-วาตะผน) น. พิกัดตัวยาประเภทหนึ่งในตำรายาไทย จำกัดจำนวนตัวยาอันมีสรรพคุณแก้ลม ๓ อย่าง คือ ผลสะค้าน รากพริกไทย ข่า.
น. พิกัดตัวยาประเภทหนึ่งในตำรายาไทย จำกัดจำนวนสมอ ๓ อย่าง คือ สมอไทย สมอพิเภก สมอเทศ.
(-สัดตะ-) น. พิกัดตัวยาประเภทหนึ่งในตำรายาไทย จำกัดจำนวนตัวยาที่มีตระกูลอันสามารถ ๓ อย่าง คือ เทียนดำ ผักชีลา ขิงสด.
น. พิกัดตัวยาประเภทหนึ่งในตำรายาไทย จำกัดจำนวนตัวยาอันมีสรรพคุณแก้ไข้สันนิบาต ๓ อย่าง คือ ผลดีปลี รากกะเพรา รากพริกไทย.
น. พิกัดตัวยาประเภทหนึ่งในตำรายาไทย จำกัดจำนวนตัวยาอันให้คุณในฤดูหนาว ๓ อย่าง คือ แสมสาร แสมทะเล ขี้เหล็ก.
น. พิกัดตัวยาประเภทหนึ่งในตำรายาไทย จำกัดจำนวนตัวยาที่มีรสอันชื่นใจ (ประดุจได้ดื่มน้ำ) ๓ อย่าง คือ รากมะตูม เทียนขาว นํ้าตาลกรวด.
(-สุคะติสะหฺมุด-) น. พิกัดตัวยาประเภทหนึ่งในตำรายาไทย จำกัดจำนวนตัวยาอันทำให้มีสรรพคุณเป็นที่ตั้ง ๓ อย่าง คือ รากแคแดง รากเพกา รากมะเดื่ออุทุมพร.
น. พิกัดตัวยาประเภทหนึ่งในตำรายาไทย จำกัดจำนวนตัวยาอันมีกลิ่นหอม ๓ อย่าง คือ ใบกระวาน อบเชยเทศ รากพิมเสน.
น. พิกัดตัวยาประเภทหนึ่งในตำรายาไทย จำกัดจำนวนตัวยาอันมีสรรพคุณแก้เสมหะ ๓ อย่าง คือ ผลช้าพลู รากดีปลี รากมะกลํ่า.
(-อะมะริด, -อะมะรึด) น. พิกัดตัวยาประเภทหนึ่งในตำรายาไทย จำกัดจำนวนตัวยาอันมีรสเลิศ ๓ อย่าง คือ รากกล้วยตีบ รากกระดอม รากมะกอก.
น. พิกัดตัวยาประเภทหนึ่งในตำรายาไทย จำกัดจำนวนตัวยาอันมีสรรพคุณขับลม ๓ อย่าง คือ ขิง กระลำพัก อบเชยเทศ.
(ทะเวตฺรี-) น. พิกัดตัวยาประเภทหนึ่งในตำรายาไทย จำกัดจำนวนตัวยาอันมีกลิ่นหอม ๒ ชนิด ชนิดละ ๓ อย่าง คือ ดอกบุนนาค แก่นบุนนาค รากบุนนาค กับ ดอกมะซาง แก่นมะซาง รากมะซาง.
น. ยาที่มุ่งหมายสำหรับใช้ในการประกอบโรคศิลปะแผนโบราณ หรือการบำบัดโรคสัตว์ ซึ่งอยู่ในตำรายาแผนโบราณที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขประกาศ หรือยาที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขประกาศเป็นยาแผนโบราณ หรือยาที่ได้รับอนุญาตให้ขึ้นทะเบียนตำรับยาเป็นยาแผนโบราณ.
น. ชื่อวิธีจับยามของหมอดู ใช้นับตามหลัก ๓ หลัก คือ อาทิตย์ จันทร์ และอังคาร เวียนกันไป โดยนับขึ้นต้นที่อาทิตย์ ถ้าวันจับยามเป็นวันข้างขึ้น ให้นับเวียนขวาจากอาทิตย์ไปยังจันทร์และอังคาร ถ้าวันจับยามเป็นวันข้างแรม ให้นับเวียนซ้ายจากอาทิตย์ไปยังอังคารและจันทร์ แล้วทำนายตามตำรายามสามตาหรือตรีเนตร.
คำขึ้นต้นในตำราโบราณ เช่น ตำรายา ตำราหมอดู หรือคาถาเมตตามหานิยม เป็นการอธิษฐานขอให้การกระทำนั้น ๆ ประสบความสำเร็จ.
ตัวอย่างประโยคจาก Open Subtitles**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
นี่เป็นตำรายาชุบชีวิต ที่อมีเลีย สืบค้นมาได้Curse (2012)
Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
[tamrā yā] (n, exp) EN: pharmacopoeia  FR: pharmacopée [ f ]
NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
(n)ตำรายาSee Also:ตำราปรุงยาSyn.pharmacopoeia
Longdo Unapproved EN-TH**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
[ฟามาโคเปีย](n, pharm)หนังสือตำรายาฉบับสากล ยอมรับและใช้กันทั่วโลก บอกข้อมูลเกี่ยวกับยาและวิธีการตรวจสอบยาในหัวข้อต่างๆ หัวข้อใน pharmacopoeia เช่น Description, Purity rubric, Identification, Assay เป็นต้น Pharmacopoeia ที่ใช้กันในปัจจุบัน เช่น USP(pharmacopoeia ของUSA), BP(pharmacopoeia ของBritish) JP(pharmacopoeia ของ Japan) ปัจจุบันประเทศไทยมี pharmacopoeia เป็นของตัวเองแล้ว โดยใช้อักษรย่อว่า TP จัดพิมพ์เป็นภาษาอังกฤษ
เพิ่มคำศัพท์
add
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ