67 ผลลัพธ์ สำหรับ 

*ชาตินิยม*

 ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น: ชาตินิยม, -ชาตินิยม-
NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
(n)nationalismSee Also:patriotismExample:ิความเป็นชาตินิยมถูกปลูกฝังไว้ในตัวของคนในชาติโดยไม่รู้ตัวThai Definition:ลัทธิที่ถือชาติเป็นใหญ่
(adj)nationalisticThai Definition:ซึ่งรักชาติ, ความรักชาติ
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
(ชาดนิยม) น. ลัทธิที่ถือชาติเป็นใหญ่, ความรักชาติ.
ก. ชมชอบ, ยอมรับนับถือ, ชื่นชมยินดี, ใช้ประกอบท้ายคำสมาสบางคำใช้เป็นชื่อลัทธิ เช่น ลัทธิชาตินิยม ลัทธิสังคมนิยม.
น. ลัทธิการเมืองที่ผู้นำรวบอำนาจทั้งทางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมไว้หมด และมีนโยบายชาตินิยมอย่างรุนแรง แต่เคารพในกรรมสิทธิ์ของเอกชน, ผู้ที่นิยมลัทธินั้น.
น. คติความเชื่อถือ ความคิดเห็น และหลักการ ที่มีผู้นิยมนับถือและปฏิบัติตามสืบเนื่องกันมา เช่น ลัทธิสังคมนิยม ลัทธิชาตินิยม ลัทธิทุนนิยม.
ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
ความผิดพลาดของธรรมชาตินิยม[ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕]
ชาตินิยมทางเศรษฐกิจ[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
ธรรมชาตินิยมทางจริยศาสตร์[ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕]
จริยศาสตร์แบบธรรมชาตินิยม[ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕]
ชาตินิยม[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
ชาตินิยมทางเศรษฐกิจ[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
ธรรมชาตินิยม[ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕]
ธรรมชาตินิยม[วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕]
ธรรมชาตินิยม[ศิลปะ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
ธรรมชาตินิยมทางจริยศาสตร์[ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕]
ละครแนวธรรมชาตินิยม[วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕]
จริยศาสตร์แบบธรรมชาตินิยม[ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕]
ความผิดพลาดของธรรมชาตินิยม[ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕]
คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
นักธรรมชาตินิยม[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
ชาตินิยม[TU Subject Heading]
ชาตินิยมกับสถาปัตยกรรม[TU Subject Heading]
ชาตินิยมกับศิลปะ[TU Subject Heading]
ชาตินิยมกับสตรีสิทธินิยม[TU Subject Heading]
นักชาตินิยม[TU Subject Heading]
ธรรมชาตินิยม[TU Subject Heading]
นโยบายหลักของกอร์บาชอฟ เป็นศัพท์ที่สื่อมวลชนของประเทศฝ่ายตะวันตกบัญญัติขึ้น ในตอนที่กำลังมีการริเริ่มใหม่ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เกี่ยวกับนโยบายต่างประเทศของโซเวียตในด้านความร่วมมือระหว่างประเทศอภิมหา อำนาจตั้งแต่ ค.ศ. 1985 เป็นต้นมา ภายใต้การนำของ นายมิคาอิล กอร์บาชอฟ ในระยะนั้น โซเวียตเริ่มเปลี่ยนทิศทางของสังคมภายในประเทศใหม่ โดยยึดหลักกลาสนอสต์ (Glasnost) ซึ่งหมายความว่า การเปิดกว้าง รวมทั้งหลักเปเรสตรอยก้า (Perestroika) อันหมายถึงการปรับเปลี่ยนโครงสร้างใหม่ในช่วงปี ค.ศ. 1985 ถึง 1986 บุคคลสำคัญชั้นนำของโซเวียตผู้มีอำนาจในการตัดสินใจนี้ ได้เล็งเห็นและสรุปว่าการที่ประเทศพยายามจะรักษาสถานภาพประเทศอภิมหาอำนาจ และครองความเป็นใหญ่ในแง่อุดมคติทางการเมืองของตนนั้นจำต้องแบกภาระทาง เศรษฐกิจอย่างหนักหน่วง แต่ประโยชน์ที่จะได้จริง ๆ นั้นกลับมีเพียงเล็กน้อย เขาเห็นว่า แม้ในสมัยเบรสเนฟ ซึ่งได้เห็นความพยายามอันล้มเหลงโดยสิ้นเชิงของสหรัฐฯ ในสงครามเวียดนาม การปฏิวัติทางสังคมนิยมที่เกิดขึ้นในแองโกล่า โมซัมบิค และในประเทศเอธิโอเปีย รวมทั้งกระแสการปฏิวัติทวีความรุนแรงยิ่งขึ้นในแถบประเทศละตินอเมริกา ก็มิได้ทำให้สหภาพโซเวียตได้รับประโยชน์ หรือได้เปรียบอย่างเห็นทันตาแต่ประการใด แต่กลับกลายเป็นภาระหนักอย่างยิ่งเสียอีก แองโกล่ากับโมแซมบิคกลายสภาพเป็นลูกหนี้อย่างรวดเร็ว เอธิโอเปียต้องประสบกับภาวะขาดแคลนอาหารอย่างสาหัส และการที่โซเวียตใช้กำลังทหารเข้ารุกรานประเทศอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1979 ทำให้ระบบการทหารและเศรษฐกิจของโซเวียตต้องเครียดหนักยิ่งขึ้น และการเกิดวิกฤตด้านพลังงาน (Energy) ในยุโรปภาคตะวันออกระหว่างปี ค.ศ. 1984-1985 กลับเป็นการสะสมปัญหาที่ยุ่งยากมากขึ้นไปอีก ขณะเดียวกันโซเวียตตกอยู่ในฐานะต้องพึ่งพาอาศัยประเทศภาคตะวันตกมากขึ้นทุก ขณะ ทั้งในด้านวิชาการทางเทคโนโลยี และในทางโภคภัณฑ์ธัญญาหารที่จำเป็นแก่การดำรงชีวิตของพลเมืองของตน ยิ่งไปกว่านั้น การที่เกิดการแข่งขันกันใหม่ด้านอาวุธยุทโธปกรณ์กับสหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะแผนยุทธการของสหรัฐฯ ที่เรียกว่า SDI (U.S. Strategic Defense Initiative) ทำให้ต้องแบกภาระอันหนักอึ้งทางการเงินด้วยเหตุนี้โซเวียตจึงต้องทำการ ประเมินเป้าหมายและทิศทางการป้องกันประเทศใหม่ นโยบายหลักของกอร์บาซอฟนี่เองทำให้โซเวียตต้องหันมาญาติดี รวมถึงทำความตกลงกับสหรัฐฯ ในรูปสนธิสัญญาว่าด้วยกำลังนิวเคลียร์ในรัศมีปานกลาง (Intermediate Range Force หรือ INF) ซึ่งได้ลงนามกันในกรุงวอชิงตันเมื่อปี ค.ศ. 1987เหตุการณ์นี้ถือกันว่าเป็นมาตรการที่มีความสำคัญที่สุดในด้านการควบคุม ยุทโธปกรณ์ตั้งแต่เริ่มสงครามเย็น (Cold War) ในปี ค.ศ. 1946 เป็นต้นมา และเริ่มมีผลกระทบต่อทิศทางในการที่โซเวียตเข้าไปพัวพันกับประเทศ อัฟกานิสถาน แอฟริกาภาคใต้ ภาคตะวันออกกลาง และอาณาเขตอ่าวเปอร์เซีย กอร์บาชอฟถึงกับประกาศยอมรับว่า การรุกรานประเทศอัฟกานิสถานเป็นการกระทำที่ผิดพลาด พร้อมทั้งถอนกองกำลังของตนออกไปจากอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1989 อนึ่ง เชื่อกันว่าการที่ต้องถอนทหารคิวบาออกไปจากแองโกล่า ก็เป็นเพราะผลกระทบจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟ ซึ่งได้เปลี่ยนท่าทีและบทบาทใหม่ของโซเวียตในภูมิภาคตอนใต้ของแอฟริกานั้น เอง ส่วนในภูมิภาคตะวันออกกลาง นโยบายหลักของกอร์บาชอฟได้เป็นผลให้ นายเอ็ดวาร์ด ชวาดนาเซ่ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ซึ่งเป็นผู้ที่ได้รับการแต่งตั้งจากนายกอร์บาชอฟ เริ่มแสดงสันติภาพใหม่ๆ เช่น ทำให้โซเวียตกลับไปรื้อฟื้นสัมพันธภาพทางการทูตกับประเทศอิสราเอล ทำนองเดียวกันในเขตอ่าวเปอร์เซีย โซเวียตก็พยายามคืนดีด้านการทูตกับประเทศอิหร่าน เป็นต้นการเปลี่ยนทิศทางใหม่ทั้งหลายนี้ ถือกันว่ายังผลให้มีการเปลี่ยนแปลงนโยบายภายในประเทศทั้งด้านเศรษฐกิจและ ด้านสังคมของโซเวียต อันสืบเนื่องมาจากนโยบาย Glasnost and Perestroika ที่กล่าวมาข้างต้นนั่นเองในที่สุด เหตุการณ์ทั้งหลายเหล่านี้ก็ได้นำไปสู่การล่มสลายอย่างกะทันหันของสหภาพ โซเวียตเมื่อปี ค.ศ. 1991 พร้อมกันนี้ โซเวียตเริ่มพยายามปรับปรุงเปลี่ยนแปลง รวมทั้งปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจการเมืองของประเทศให้ทันสมัยอย่างขนานใหญ่ นำเอาทรัพยากรที่ใช้ในด้านการทหารกลับไปใช้ในด้านพลเรือน พฤติกรรมเหล่านี้ทำให้เกิดจิตใจ (Spirit) ของการเป็นมิตรไมตรีต่อกัน (Détente) ขึ้นใหม่ในวงการการเมืองโลก เห็นได้จากสงครามอ่าวเปอร์เซีย ซึ่งโซเวียตไม่เล่นด้วยกับอิรัก และหันมาสนับสนุนอย่างไม่ออกหน้ากับนโยบายของประเทศฝ่ายสัมพันธมิตรนัก วิเคราะห์เหตุการณ์ต่างประเทศหลายคนเห็นพ้องต้องกันว่า การที่เกิดการผ่อนคลาย และแสวงความเป็นอิสระในยุโรปภาคตะวันออกอย่างกะทันหันนั้น เป็นผลจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟโดยตรง คือเลิกใช้นโยบายของเบรสเนฟที่ต้องการให้สหภาพโซเวียตเข้าแทรกแซงอย่างจริง จังในกิจการภายในของกลุ่มประเทศยุโรปตะวันออก กระนั้นก็ยังมีความรู้สึกห่วงใยกันไม่น้อยว่า อนาคตทางการเมืองของกอร์บาชอฟจะไปได้ไกลสักแค่ไหน รวมทั้งความผูกพันเป็นลูกโซ่ภายในสหภาพโซเวียตเอง ซึ่งยังมีพวกคอมมิวนิสต์หัวรุนแรงหลงเหลืออยู่ภายในประเทศอีกไม่น้อย เพราะแต่เดิม คณะพรรคคอมมิวนิสต์ในสหภาพโซเวียตนั้น เป็นเสมือนจุดรวมที่ทำให้คนสัญชาติต่าง ๆ กว่า 100 สัญชาติภายในสหภาพ ได้รวมกันติดภายในประเทศที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก คือมีพื้นที่ประมาณ 1 ใน 6 ส่วนของพื้นที่โลก และมีพลเมืองทั้งสิ้นประมาณ 280 ล้านคนจึงสังเกตได้ไม่ยากว่า หลังจากสหภาพโซเวียตล่มสลายไปแล้ว พวกหัวเก่าและพวกที่มีความรู้สึกชาตินิยมแรง รวมทั้งพลเมืองเผ่าพันธุ์ต่างๆ เกิดความรู้สึกไม่สงบ เพราะมีการแก่งแย่งแข่งกัน บังเกิดความไม่พอใจกับภาวะเศรษฐกิจที่ตนเองต้องเผชิญอยู่ จึงเป็นสาเหตุที่ทำให้จักรวรรดิของโซเวียตต้องแตกออกเป็นส่วน ๆ เช่น มีสาธารณรัฐที่มีอำนาจ ?อัตตาธิปไตย? (Autonomous) หลายแห่ง ต้องการมีความสัมพันธ์ในรูปแบบใหม่กับรัสเซีย เช่น สาธารณรัฐยูเกรน ไบโลรัสเซีย มอลดาเวีย อาร์เมเนีย และอุสเบคิสถาน เป็นต้น แต่ก็เป็นการรวมกันอย่างหลวม ๆ มากกว่า และอธิปไตยที่เป็นอยู่ขณะนี้ดูจะเป็นอธิปไตยที่มีขอบเขตจำกัดมากกว่าเช่นกัน โดยเฉพาะสาธารณรัฐมุสลิมในสหภาพโซเวียตเดิม ซึ่งมีพลเมืองรวมกันเกือบ 50 ล้านคน ก็กำลังเป็นปัญหาต่อเชื้อชาติสลาฟ และการที่พวกมุสลิมที่เคร่งครัดต่อหลักการเดิม (Fundamentalism) ได้เปิดประตูไปมีความสัมพันธ์อันดีกับประะเทศอิหร่านและตุรกีจึงทำให้มีข้อ สงสัยและครุ่นคิดกันว่า เมื่อสหภาพโซเวียตแตกสลายออกเป็นเสี่ยง ๆ ดังนี้แล้ว นโยบายหลักของกอร์บาชอฟจะมีทางอยู่รอดต่อไปหรือไม่ ซึ่งเป็นเรื่องที่ถกเถียงและอภิปรายกันอยู่พักใหญ่และแล้ว เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม ค.ศ. 1991 ก็ได้เกิดความพยายามที่จะถอยหลังเข้าคลอง คือกลับนโยบายผ่อนเสรีของ Glasnost และ Perestroika ทั้งภายในประเทศและภายนอกประเทศโดยมีผุ้ที่ไม่พอใจได้พยายามจะก่อรัฐประหาร ขึ้นต่อรัฐบาลของนายกอร์บาชอฟ แม้การก่อรัฐประหารซึ่งกินเวลาอยู่เพียงไม่กี่วันจะไม่ประสบผลสำเร็จ แต่เหตุการณ์นี้ก่อให้เกิดผลสะท้อนลึกซึ้งมาก คือเป็นการแสดงว่า อำนาจของรัฐบาลกลางย้ายจากศูนย์กลางไปอยู่ตามเขตรอบนอกของประเทศ คือสาธารณรัฐต่างๆ ซึ่งก็ต้องประสบกับปัญหานานัปการ จากการที่ประเทศเป็นภาคีอยู่กับสนธิสัญญาระหว่างประเทศต่างๆ โดยเฉพาะความตกลงเกี่ยวกับการควบคุมอาวุธยุทโธปกรณ์ ซึ่งสหภาพโซเวียตเดิมได้ลงนามไว้หลายฉบับผู้นำของสาธารณรัฐที่ใหญ่ที่สุดคือ นายบอริส เยลท์ซินได้ประกาศว่า สหพันธ์รัฐรัสเซียยังถือว่า พรมแดนที่เป็นอยู่ขณะนี้ย่อมเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ ไม่ใช่เป็นสิ่งที่จะแก้ไขเสียมิได้และในสภาพการณ์ด้านต่างประทเศที่เป็นอยู่ ในขณะนี้ การที่โซเวียตหมดสภาพเป็นประเทศอภิมหาอำนาจ ทำให้โลกกลับต้องประสบปัญหายากลำบากหลายอย่าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาเศรษฐกิจระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ ที่เคยสังกัดอยู่ในสหภาพโซเวียตเดิม จึงเห็นได้ชัดว่า สหภาพโซเวียตเดิมได้ถูกแทนที่โดยการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ อย่างหลวมๆ ในขณะนี้ คล้ายกับการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐภายในรูปเครือจักรภพหรือภายในรูป สมาพันธรัฐมากกว่า และนโยบายหลักของกอร์บาชอฟก็ได้ทำให้สหภาพโซเวียตหมดสภาพความเป็นตัวตนใน เชิงภูมิรัฐศาสตร์ (Geopolitics)[การทูต]
ตัวอย่างประโยคจาก Open Subtitles**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
งานชิ้นแรกของเราน่าจะเป็น จัดประชุมพรรคชาตินิยม และเรียกร้องการเป็นเอกราชGandhi (1982)
คานธี ตัวแทนคนเดียว ของพรรคชาตินิยมอินเดีย จะพักที่คิงสลีย์ฮอลล์ในลอนดอน ระหว่างที่ร่วมประชุมGandhi (1982)
พวกชาตินิยมหรอ ?Millennium Actress (2001)
ไม่ชาตินิยมเท่าไหร่ คุณว่ามั้ยPride & Prejudice (2005)
เขาเป็นเหมือนกับ นักธรรมชาตินิยมCall Waiting (2007)
ไม่ ไมใช่พวกธรรรมชาตินิยม นักอนุรักษ์ธรรมชาติThe Fourth Man in the Fire (2008)
สหพันธ์แห่งชาตินิยมAlbification (2009)
สหพันธ์ชาตินิยมแห่งอเมริกาThe Culling (2009)
สถานที่ล่าสุด สหพันธ์ชาตินิยมแห่งอเมริกา ลาออกจากงานที่ซานเบอร์นาดิโนFix (2009)
เชื่อกันว่าด้านหนึ่งเป็นชาตินิยม และอีกด้านเป็นอานาธิปไตยSherlock Holmes: A Game of Shadows (2011)
ชาตินิยมประชาธิปไตยมีกินมีใช้1911 (2011)
ชั้นเป็นพวกชาตินิยม ส่วนเธอเป็นอะไรก็ช่างที่เธอถูกจ้างให้เป็นChuck Versus the Bearded Bandit (2011)
ไม่ว่าเหตุผลที่ครั้งแรกที่ เรารวบรวมทรัพยากรมหาศาล ที่จำเป็นสำหรับโปรแกรมอพอลโล แต่มันก็ติดหล่มอยู่ใน ชาตินิยมสงครามเย็นThe World Set Free (2014)
ผมถูกเกณฑ์เข้ามาอยู่ในกองทหารราชินี และถูกส่งไปยังอาณานิคมอเมริกา เพื่อต่อสู่กับพวกชาตินิยมThe Sin Eater (2013)
ตอนนั้นเขาเป็นพวกชาตินิยมคนแรกที่ตะโกนว่าThe Midnight Ride (2013)
Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
[chātniyom] (n) EN: nationalism  FR: nationalisme [ m ]
[chātniyom] (adj) EN: nationalistic ; nationalist  FR: nationaliste
[phak chātniyom] (n, exp) EN: nationalist political party   FR: parti nationaliste [ m ]
[thammachātniyom] (n) EN: naturalism  FR: naturalisme [ m ]
NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
(n)ชาตินิยมSee Also:การรักชาติ
(adj)เกี่ยวกับชาตินิยมSyn.chauvinistic, flag-waving(prenominal), jingoisticAnt.disloyal, unpatriotic
(adv)อย่างชาตินิยม
(n)ธรรมชาตินิยมSee Also:ลัทธิธรรมชาตินิยมSyn.verisimilitude, realism
Hope Dictionary
(แฟซ'ซิสซึม) n. ลัทธิชาตินิยมของรัฐบาลเผด็จการ มีลักษณะก้าวร้าวและแบ่งผิว
(เฟ'เทลลิซึม) n. ชาตินิยม, พรหมลิขิตนิยมSee Also:fatalist n. fatalistic adj. fatalistically adv.
(แนช'เชินเนิล) adj. แห่งชาติ, ชาตินิยม, ทั่วทั้งชาติ. n. พลเมืองของชาติหนึ่ง.
(แนช'ช ะเนิลลิสซึม) n. ลัทธิชาตินิยม, ความรักชาติ
(แนช'ช ะนะลิสทฺ) n. ผู้รักชาติ, ผู้นิยมลัทธิชาตินิยม, ผู้ต่อสู้เพื่อเอกราชของชาติ.See Also:nationalistic adj. เกี่ยวกับชาตินิยม
Nontri Dictionary
(n)ลัทธิชาตินิยม, ความรักชาติ
(n)ผู้รักชาติ, นักชาตินิยม
(adj)เกี่ยวกับชาตินิยม, เกี่ยวกับความรักชาติ
(n)คนรักชาติ, พวกชาตินิยม
(n)ลัทธิชาตินิยม, ความรักชาติ
Longdo Unapproved EN-TH**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
[ไอโดเดอะลิเซิม](n)อัตชาตินิยม
[ไอโดเดอะลิสทฺ](n)นักอัตชาตินิยม
เพิ่มคำศัพท์
add
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ