ก. ประจำ, เรียกผู้ซื้อขายหรือติดต่อกันเป็นประจำว่า เจ้าจำนำ.
น. ชื่อสัญญาซึ่งบุคคลคนหนึ่ง เรียกว่า ผู้จำนำ ส่งมอบสังหาริมทรัพย์สิ่งหนึ่งให้แก่บุคคลอีกคนหนึ่ง เรียกว่า ผู้รับจำนำ เพื่อเป็นประกันการชำระหนี้.
ว. เรียกผ้าที่ถวายแก่พระสงฆ์ที่อยู่จำพรรษาในวัดนั้น ๆ ว่า ผ้าจำนำพรรษา.
น. ผู้ซื้อขายหรือติดต่อกันเป็นประจำ.
น. ตัวแทนที่ให้อยู่เป็นประกันในความซื่อตรงมั่นคงของผู้เป็นหัวหน้าหรือประมุข.
น. ใบรับรองว่าได้นำสิ่งของมาจำนำไว้.
น. ผู้รับมอบสังหาริมทรัพย์จากผู้จำนำเพื่อเป็นประกันการชำระหนี้.
น. สถานที่รับจำนำสิ่งของ, ถ้าเป็นของเทศบาลหรือกรุงเทพมหานคร เรียกว่า สถานธนานุบาล, ถ้าเป็นของกรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ เรียกว่า สถานธนานุเคราะห์.
น. กฎหมายที่วางระเบียบความเกี่ยวพันทางการค้าหรือธุรกิจระหว่างบุคคล เช่น กฎหมายว่าด้วยการซื้อขาย การเช่าทรัพย์ การจำนอง การจำนำ ตั๋วเงิน หุ้นส่วน บริษัท.
น. เป็นฐานความผิดอาญา ที่ลูกหนี้ทำให้เกิดความเสียหายแก่ทรัพย์ที่ตนจำนำไว้ หรือกระทำการบางอย่างที่ทำให้เจ้าหนี้เสียหายในการที่จะได้รับชำระหนี้ เช่น โอนทรัพย์ให้คนอื่นหรือแกล้งเป็นหนี้ที่ไม่เป็นความจริง.
เอาของไปจำนำ, ไขว้เขว ก็ว่า
น. เจ้าหนี้ผู้มีสิทธิเหนือทรัพย์สินของลูกหนี้ในทางจำนอง จำนำ หรือสิทธิยึดหน่วง หรือเจ้าหนี้ผู้มีบุริมสิทธิที่บังคับได้ทำนองเดียวกับผู้รับจำนำ.
ก. เป็นคำใช้เข้าคู่กับคำ บำเรอ เช่น อันว่าอมิตดาก็อยู่บำเรอเชอภักดิ์ (ม. คำหลวง ชูชก), จำนำบำเรอเชอถนอม (สรรพสิทธิ์).
ก. ชำระหนี้เพื่อถอนคืนทรัพย์สินที่จำนำไว้
ก. พิมพ์ลายนิ้วหัวแม่มือเพื่อเป็นหลักฐานเมื่อนำของไปจำนำ, (ปาก) โดยปริยายหมายถึง ซื้อเชื่อ.
น. เป็นฐานความผิดอาญา ที่ผู้กระทำช่วยซ่อนเร้น ช่วยจำหน่าย ช่วยพาเอาไปเสีย ซื้อ รับจำนำหรือรับไว้โดยประการใดซึ่งทรัพย์อันได้มาโดยการกระทำความผิด ถ้าความผิดนั้นเข้าลักษณะลักทรัพย์ วิ่งราวทรัพย์ กรรโชก รีดเอาทรัพย์ ชิงทรัพย์ ปล้นทรัพย์ ฉ้อโกง ยักยอก หรือเจ้าพนักงานยักยอกทรัพย์.
น. โรงรับจำนำของกรมประชาสงเคราะห์.
น. โรงรับจำนำของกรุงเทพมหานคร, โรงรับจำนำของเทศบาล.
ก. หันเวียนไปในแนวโค้ง เช่น โลกหมุน, ทำให้หันเวียนไปในแนวโค้ง เช่น หมุนเข็มนาฬิกา, (ปาก) นำสิ่งของไปจำนำหรือขายเพื่อเอาเงินมาใช้.
ขาดกรรมสิทธิ์ เช่น เอาทรัพย์จำนำหลุดเป็นสิทธิ.