347 ผลลัพธ์ สำหรับ 

*คณิต*

 ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น: คณิต, -คณิต-
Longdo Unapproved TH - EN**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
รูปทรงเลขาคณิต
[รูบ-ซง-เล-ขา-คะ-นิด](n, adj, uniq)Geometric shapes
NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
(n)calculationSee Also:computation, mathematicsExample:วิชาที่เกี่ยวกับการคำนวณได้แก่วิชาคณิตศาสตร์ เรขาคณิต พีชคณิต เป็นต้นThai Definition:การคำนวณ, การนับ
(n)algebraExample:เขาใช้รากฐานของสูตรทางพีชคณิตมาพัฒนาเครื่องคอมพิวเตอร์Unit:วิชาThai Definition:คณิตศาสตร์แขนงหนึ่งที่ใช้สัญลักษณ์มาศึกษาการจำแนกประเภท คุณสมบัติและโครงสร้างของระบบจำนวน
(n)arithmeticSyn.วิชาเลขคณิตExample:ตรองทำแบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ ขณะที่ดวงดอมทำเลขคณิตThai Definition:สาขาหนึ่งของคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวกับเซตจำนวนจริง ทั้งในภาคทฤษฎีและภาคประยุกต์
(n)geometryExample:เขาแบ่งผิวโลกโดยใช้ระบบพิกัดทางเรขาคณิตThai Definition:คณิตศาสตร์แขนงหนึ่งที่ว่าด้วยการจำแนกประเภท สมบัติ และโครงสร้างของเซตของจุดที่เรียงกันอย่างมีระเบียบตามกฎเกณฑ์ที่กำหนดให้เป็นรูปทรงต่างๆ เช่น เส้นตรง วงกลม รูปสามเหลี่ยม ระนาบ รูปกรวยNotes:(คณิตศาสตร์)
(n)mathematicsSyn.คณิต, เลข, เลขคณิตExample:โปรแกรมการสอนคณิตศาสตร์และภาษาอังกฤษมีจำหน่ายแล้วUnit:วิชาThai Definition:วิชาว่าด้วยการคำนวณ
(n)pure geometryThai Definition:เรขาคณิตที่ใช้กฎเกณฑ์ของระบบตรรกศาสตร์โดยเริ่มต้นจากบทนิยามและสัจพจน์ที่เกี่ยวกับรูปทรงมาเรียบเรียงให้เป็นทฤษฎีบท แล้วอนุมานผลลัพธ์จากทฤษฎีบทNotes:(คณิต)
(n)analytic geometryThai Definition:เรขาคณิตที่ใช้สมการมาควบคุมเซตของจุดที่เรียงกันเป็นรูปทรงต่างๆ แล้วอนุมานผลลัพธ์จากการแก้สมการนั้นๆ รวมทั้งการแปลความหมายด้วยNotes:(คณิต)
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
(คะนิด, คะนิดตะ-) น. การนับ, การคำนวณ, วิชาคำนวณ, มักใช้เป็นคำหลังของวิชาบางประเภท เช่น พีชคณิต เรขาคณิต.
(คะนิดตะสาด, คะนิดสาด) น. วิชาว่าด้วยการคำนวณ.
(พีชะคะนิด) น. คณิตศาสตร์แขนงหนึ่งที่ใช้สัญลักษณ์มาศึกษาการจำแนกประเภท คุณสมบัติ และโครงสร้างของระบบจำนวนหรือระบบคณิตศาสตร์อื่น ๆ ที่เน้นในเรื่องโครงสร้างเป็นสำคัญ รวมถึงการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างระบบเหล่านั้นด้วย.
น. คณิตศาสตร์แขนงหนึ่งที่ว่าด้วยการจำแนกประเภท สมบัติ และโครงสร้างของเซตของจุดที่เรียงกันอย่างมีระเบียบตามกฎเกณฑ์ที่กำหนดให้เป็นรูปทรงต่าง ๆ เช่น เส้นตรง วงกลม รูปสามเหลี่ยม ระนาบ รูปกรวย.
น. เรขาคณิตที่ใช้กฎเกณฑ์ของระบบตรรกศาสตร์โดยเริ่มต้นจากบทนิยามและสัจพจน์ที่เกี่ยวกับรูปทรงมาเรียบเรียงให้เป็นทฤษฎีบท แล้วอนุมานผลลัพธ์จากทฤษฎีบท .
น. เรขาคณิตที่ใช้สมการมาควบคุมเซตของจุดที่เรียงกันเป็นรูปทรงต่าง ๆ แล้วอนุมานผลลัพธ์จากการแก้สมการนั้น ๆ พร้อมทั้งการแปลความหมายด้วย.
น. วิชาเกี่ยวกับเซตจำนวนจริงทั้งในภาคทฤษฎีและภาคประยุกต์.
ก. ขอสิ่งของ เงิน เป็นต้น มาใช้ชั่วระยะเวลาหนึ่งแล้วคืนให้หรือใช้คืน, นำของของผู้อื่นมาใช้เป็นของของตน เช่น ขอยืมคำในภาษาบาลีมาใช้ ขอยืมวัฒนธรรมตะวันตกมาใช้ ขอยืมความคิด, (คณิต) ในการลบเลข ถ้าเลขตัวตั้งในหลักใดน้อยกว่าเลขที่จะนำมาลบ ให้นำเลขจากหลักสูงถัดไปมาเพิ่มเลขตัวตั้งเพื่อให้มากพอที่จะลบได้ เช่น ๔๓ - ๕ ในที่นี้ ๕ ลบจาก ๓ ไม่ได้ ๓ ต้องขอยืม ๔ ซึ่งเป็นหลักสิบมา ๑ รวมเป็น ๑๓ แล้วลบออกเสีย ๕ เหลือ ๘ ๔ เมื่อถูกขอยืมไป ๑ ก็เหลือ ๓ ผลลัพธ์ ๓๘, ยืม ก็ว่า.
น. เครื่องอิเล็กทรอนิกส์แบบอัตโนมัติ ทำหน้าที่เสมือนสมองกล ใช้สำหรับแก้ปัญหาต่าง ๆ ทั้งที่ง่ายและซับซ้อน โดยวิธีทางคณิตศาสตร์.
(แคน-) น. คณิตศาสตร์ชั้นสูงแขนงหนึ่ง ศึกษาเกี่ยวกับค่าของจำนวนที่เปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่องตลอดเวลา แบ่งออกเป็น แคลคูลัสเชิงอนุพันธ์ และแคลคูลัสเชิงอินทิกรัล.
(โจด) น. คำถามในวิชาคณิตศาสตร์, โดยปริยายใช้หมายถึงสิ่งที่คล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น ปัญหานี้เป็นโจทย์ที่รัฐบาลแก้ไม่ตก.
น. เส้นหรือพื้นที่ซึ่งถือว่าเป็นส่วนรองรับรูปเรขาคณิต เช่น ฐานของสามเหลี่ยม ฐานของกรวย, จำนวนที่ใช้เป็นหลักในการสร้างจำนวนอื่น ๆ โดยการยกกำลังหรือหาค่าของลอการิทึม เช่น จำนวน ๓ ใน ๓ (= ๘๑) จำนวน ๗ ใน log7 49 (= ๒), จำนวนที่บอกปริมาณในแต่ละหลักของตัวเลข เช่น เมื่อ ๖๓๕ เป็นตัวเลขฐาน ๑๐ ใช้สัญลักษณ์ว่า ๖๓๕๑๐ ซึ่งแทน ๕ + (๓ x ๑๐) + (๖ x ๑๐) เมื่อ ๖๓๕ เป็นตัวเลขฐาน ๗ ใช้สัญลักษณ์ว่า ๖๓๕ ซึ่งแทน ๕ + (๓ x ๗) + (๖ x ๗).
(ตฺรีโกน-) น. คณิตศาสตร์แขนงหนึ่งที่ว่าด้วยฟังก์ชันของตัวแปรจริง ซึ่งแทนขนาดของมุมในรูปสามเหลี่ยม, คณิตศาสตร์แขนงหนึ่งที่ว่าด้วยการใช้ฟังก์ชันของมุมเป็นรากฐานในการศึกษาสมบัติของรูปสามเหลี่ยมหรือรูปอื่นใดที่ทอนลงมาเป็นรูปสามเหลี่ยมได้.
น. จำนวนเลขที่ใช้ในการคำนวณหาคำตอบตามวิธีการทางคณิตศาสตร์ เช่น ตัวบวก ตัวลบ ตัวคูณ ตัวหาร, ลักษณนามใช้เรียกตัวเลข เช่น เลขท้าย ๒ ตัว.
น. ข้อความที่พิสูจน์แล้วว่าเป็นจริง และใช้ในการอ้างอิงเพื่อพิสูจน์ข้อความอื่นได้ เช่น ทฤษฎีบททางเรขาคณิต.
ในทางคณิตศาสตร์เรียกจำนวนเลขที่มีค่ามากกว่าศูนย์ ว่า จำนวนบวก.
น. เรียกเครื่องหมายคณิตศาสตร์รูปดังนี้ + ว่า เครื่องหมายบวก.
(ปะริพูม) น. เซตที่มีโครงสร้างบางอย่าง อาจเป็นโครงสร้างแบบเรขาคณิตหรือโครงสร้างแบบอื่นก็ได้.
ของแข็งที่มีโครงสร้างเป็นรูปทรงเรขาคณิตที่แน่นอนเฉพาะตัว.
น. หลักสำคัญอันเป็นพื้นฐานรองรับ, ส่วนที่เป็นพื้นรองรับสำหรับพัฒนาต่อไป, เช่น วางรากฐานการศึกษา วิชาคณิตศาสตร์เป็นรากฐานของวิชาวิทยาศาสตร์
ใช้กันนามเต็มหรือบรรดาศักดิ์ที่เขียนใต้ลายมือชื่อ เช่น

ใช้กันตัวอักษรหรือตัวเลขที่เป็นหัวข้อหรือที่เป็นเลขหมายบอกเชิงอรรถ ส่วนตัวอักษรหรือตัวเลขที่เป็นหัวข้ออาจใช้เพียงเครื่องหมายวงเล็บปิดก็ได้ เช่น วันรุ่งแรมสามค่ำเป็นสำคัญ (๑) อภิวันท์ลาบาทพระชินวร ข้อ (ก) ข้อ ๑), ใช้ในวิชาคณิตศาสตร์และสูตรทางวิทยาศาสตร์เพื่อกั้นตัวเลขหรือสัญลักษณ์ไว้เป็นกลุ่ม เช่น a2 - b2 = (a + b)(a – b), Al2(SO4)3, นขลิขิต ก็ว่า.
น. เครื่องหมายวรรคตอนรูปดังนี้ { } สำหรับใช้ควงคำหรือข้อความซึ่งอยู่คนละบรรทัดเข้าด้วยกันเพื่อให้รู้ว่าเป็นกลุ่มเดียวกันหรือเชื่อมโยงกัน อาจใช้เพียงข้างใดข้างหนึ่งก็ได้ เช่น

ใช้ในวิชาคณิตศาสตร์ เพื่อกั้นสมาชิกของเซตหรือกั้นกลุ่มตัวเลขหรือกลุ่มสัญลักษณ์ที่มีวงเล็บแบบอื่นอยู่แล้วไว้เป็นกลุ่มเดียวกัน เช่น A = { 2, 4, 6, 8 }, 2x – 5{ 7 – (x – 6) + 3x } – 28 = 39.
น. คิ้ว, ใช้เป็นราชาศัพท์ว่า พระขนง, ใช้กันข้อความในการเขียนบรรณานุกรมและเชิงอรรถในกรณีที่ข้อความนั้นไม่ปรากฏในหนังสือ แต่ผู้ทำบรรณานุกรมเพิ่มเติมเข้าไปเอง โดยมีหลักฐานยืนยัน เช่น [ ตรี อมาตยกุล ] นำชมหอสมุดดำรงราชานุภาพ. พระนคร : กรมศิลปากร, ๒๔๙๔., ใช้ในวิชาคณิตศาสตร์เพื่อกั้นกลุ่มตัวเลขกลุ่มสัญลักษณ์ที่มีวงเล็บอื่นอยู่แล้วไว้เป็นกลุ่มเดียวกัน เช่น 11 + 2[ x + 4 – 3{ x + 5 – 4(x + 1) } ] = 23, ใช้ในทางวิทยาศาสตร์เพื่อกั้นกลุ่มตัวเลขหรือกลุ่มสัญลักษณ์เพื่อแสดงความหมายต่าง ๆ เช่น [ Ba2+ ][ F−2 ] = 1.05.10−6, Na2[ Fe(Cn)5(NO) ]·2H2O.
น. วิทยาศาสตร์ที่ว่าด้วยเรื่องราวต่าง ๆ ของสิ่งไม่มีชีวิต เช่น เคมี ฟิสิกส์ คณิตศาสตร์ ดาราศาสตร์.
น. ทำนองหรือหนทางที่จะทำ เช่น วิธีทำฝอยทอง วิธีสอนคณิตศาสตร์ เลขข้อนี้ทำได้หลายวิธี
การนำความรู้ทางคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ธรรมชาติมาประยุกต์ใช้.
(วิดสะวะกำมะสาด) น. วิชาที่เกี่ยวกับการนำความรู้ทางคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ธรรมชาติมาประยุกต์ใช้ มีหลายสาขา เช่น วิศวกรรมโยธา วิศวกรรมไฟฟ้า วิศวกรรมเครื่องกล.
ก. ตั้งใจจดจ่ออยู่กับสิ่งใดเรื่องใดเป็นพิเศษ เช่น เขาสนใจวิชาคณิตศาสตร์มาก, ใฝ่ใจใคร่รู้ใคร่เห็นเป็นต้น เช่น เขาสนใจการเมืองมาตั้งแต่เด็ก.
(สัดจะ-) น. ข้อความที่ยอมรับในวิชาคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ว่าจริงโดยไม่ต้องพิสูจน์.
(สันยะ-) น. สิ่งที่กำหนดนิยมกันขึ้นเพื่อให้ใช้หมายความแทนอีกสิ่งหนึ่ง เช่น ตัวหนังสือเป็นสัญลักษณ์แทนเสียงพูด H เป็นสัญลักษณ์แทนธาตุไฮโดรเจน + − x ÷ เป็นสัญลักษณ์เครื่องหมายทางคณิตศาสตร์.
ว. มากที่สุด เช่น ตัวเลขสูงสุด เขาได้คะแนนคณิตศาสตร์สูงสุดในชั้น.
(สูด) น. กฎสำหรับจดจำ เช่น สูตรคูณ สูตรคณิตศาสตร์
ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
เรขาคณิตเชิงภาพฉาย[คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
คณิตศาสตร์บริสุทธิ์[คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
เรขาคณิตระนาบ[คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
เรขาคณิตเชิงพาราโบลา[คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
เรขาคณิตปฐมฐาน[คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
คณิตตรรกศาสตร์, คณิตตรรกวิทยา[ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕]
พีชคณิตเชิงเส้น[คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
คณิตศาสตร์ตรรกนิยม[คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
เรขาคณิตรีมันน์ [ มีความหมายเหมือนกับ elliptic geometry ][คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
เรขาคณิตนอกแบบยุคลิดของรีมันน์[คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
๑. ริง [ ใช้ในพีชคณิตนามธรรม ]๒. วงแหวน[คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
เรขาคณิตทรงตัน[คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
เรขาคณิตทรงกลม[คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
เรขาคณิตสังเคราะห์[คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
เรขาคณิตบังคับเลี้ยว[ยานยนต์ ๑๒ มี.ค. ๒๕๔๕]
คณิตศาสตร์ประยุกต์[คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
เรขาคณิตวิเคราะห์[คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
พีชคณิตการเปลี่ยนหมู่[คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
เรขาคณิตสัมพรรค[คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
เอจีพี (การก้าวหน้าเลข-เรขาคณิต) [ มีความหมายเหมือนกับ arithmetico-geometric sequence ][คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
เอเอ็ม (มัชฌิมเลขคณิต) [ มีความหมายเหมือนกับ arithmetic average ][คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
เอพี (การก้าวหน้าเลขคณิต) [ มีความหมายเหมือนกับ arithmetic sequence ][คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
คณิตศาสตร์ประกันภัย[คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
นักคณิตศาสตร์ประกันภัย[ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕]
นักคณิตศาสตร์ประกันภัย[คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
พีชคณิต[คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
-พีชคณิต[คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
นิพจน์พีชคณิต[คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
ฟังก์ชันพีชคณิต[คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
เรขาคณิตเชิงพีชคณิต[คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
ทอพอโลยีเชิงพีชคณิต[คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
-เลขคณิต[คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
การก้าวหน้าเลข-เรขาคณิต (เอจีพี) [ มีความหมายเหมือนกับ arithmetico-geometric sequence ][คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
ค่าเฉลี่ยเลขคณิต, มัชฌิมเลขคณิต [ ดู arithmetic average ][ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕]
มัชฌิมเลขคณิต (เอเอ็ม) [ มีความหมายเหมือนกับ arithmetic average ][คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
การก้าวหน้าเลขคณิต (เอพี) [ มีความหมายเหมือนกับ arithmetic sequence ][คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
ลำดับเลขคณิต [ มีความหมายเหมือนกับ arithmetic progression (A.P.) ][คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
อนุกรมเลขคณิต[คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
ลำดับเลข-เรขาคณิต [ มีความหมายเหมือนกับ arithmetico-geometric progression (A.G.P.) ][คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
๑. การทำให้เป็นระบบเลขคณิต๒. กระบวนการเลขคณิต[คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
๑. การทำให้เป็นระบบเลขคณิต๒. กระบวนการเลขคณิต[คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
พีชคณิตนามธรรม[คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
เลขคณิต[คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
ค่าเฉลี่ยเลขคณิต [ ดู arithmetic mean ][ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕]
ค่าเฉลี่ยเลขคณิต [ มีความหมายเหมือนกับ arithmetic mean (A.M.) ][คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
แผนภูมิเลขคณิต[คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
พีชคณิตบูลีน[คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
เรขาคณิตนอกแบบยุคลิดของโบลไย-โลบาเชฟสกี[คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
พีชคณิตบานาค[คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
ชีวคณิตศาสตร์[คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
แบบจำลองทางคณิตศาสตร์[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
คณิตศาสตร์แบบฟัสซี[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
โคลนส์ (พีชคณิต)[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
วิธีอุปนัยเชิงคณิตศาสตร์[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
พีชคณิต[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
พีชคณิตเชิงเส้น[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
พีชคณิตนามธรรม[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
คณิตวิเคราะห์[เศรษฐศาสตร์]
ตัวแบบเชิงคณิตศาสตร์[เศรษฐศาสตร์]
เอพีแอล ภาษาคอมพิวเตอร์ระดับสูงภาษาหนึ่งซึ่งคิดค้นขึ้นโดยนักคณิตศาสตร์ชื่อ เคนเนท ไอเวอร์สัน แห่งบริษัทไอบีเอ็ม ใช้สัญลักษณ์ต่างๆ หลากหลายมาใช้แทนคำสั่งในภาษานี้พร้อมกันนั้นก็เพิ่งคำสั่งแปลกๆ ที่ภาษาคอมพิวเตอร์อื่นๆ ไม่มีใช้ลงไปด้วย ทำให้ภาษานี้ซับซ้อนและไม่ได้รับความนิยมนัก ทั้งๆ ที่เป็นภาษาที่มีสมรรถนะสูงมาก[คอมพิวเตอร์]
การโปรแกรมเชิงคณิตศาสตร์[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
การเลี้ยวเบนเชิงเรขาคณิต[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
การวิเคราะห์ความคลาดเคลื่อน (คณิตศาสตร์)[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
การหาค่าเหมาะที่สุดเชิงคณิตศาสตร์[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
ตัวประมวลผลร่วมคณิตศาสตร์[คอมพิวเตอร์]
คณิตศาสตร์[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
คณิตศาสตร์การเกษตร[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
คณิตศาสตร์ธุรกิจ[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
คณิตศาสตร์วิเคราะห์[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
คณิตศาสตร์วิศวกรรม[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
คณิตศาสตร์สถิติ[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
ตัวแปร (คณิตศาสตร์)[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
ทัศนศาสตร์เชิงเรขาคณิต[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
นักคณิตศาสตร์[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
เลขคณิตจุดตายตัวExample:คณิตศาสตร์ที่เกี่ยวกับตัวเลขที่ตำแหน่งของจุดทศนิยมตายตัว[คอมพิวเตอร์]
เลขคณิตจุดลอยตัวExample:คณิตศาสตร์ที่เกี่ยวกับตัวเลขที่ตำแหน่งของจุดทศนิยมไม่ตายตัวสามารถเปลี่ยนไปได้[คอมพิวเตอร์]
เครื่องคิดเลขวิทยาศาสตร์, เครื่องคิดเลขที่มีสูตรคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สถิติ สมการลีเนียร์หลายตัวแปรได้ เป็นต้น[Assistive Technology]
การจำลองแบบเสมือน, เป็นการจำลองสถานการณ์โดยใช้สูตรคณิตศาสตร์ สถิติและแคลคูลัส เพื่อให้การคำนวณในสิ่งที่ศึกษามีผลลัพท์ตรงกับหรือใกล้เคียงกับสภาพจริง[Assistive Technology]
พีชคณิต[TU Subject Heading]
พีชคณิตนามธรรม[TU Subject Heading]
พีชคณิตบูลีน[TU Subject Heading]
พีชคณิตเชิงเส้น[TU Subject Heading]
เลขคณิต[TU Subject Heading]
คณิตศาสตร์ธุรกิจ[TU Subject Heading]
การจำแนกประเภท (คณิตศาสตร์)[TU Subject Heading]
บทสนทนาและวลี (สำหรับนักคณิตศาสตร์)[TU Subject Heading]
คอนโวลูชัน (คณิตศาสตร์)[TU Subject Heading]
ทฤษฎีจุดวิกฤต (การวิเคราะห์ทางคณิตศาสตร์)[TU Subject Heading]
คณิตผลึกศาสตร์, คณิตผลิกศาสตร์[TU Subject Heading]
ดีคอมโพซิชั่น (คณิตศาสตร์)[TU Subject Heading]
ตัวกำหนด (พีชคณิต)[TU Subject Heading]
คณิตเศรษฐศาสตร์[TU Subject Heading]
คณิตศาสตร์วิศวกรรม[TU Subject Heading]
เกมส์ในการศึกษาคณิตศาสตร์[TU Subject Heading]
เรขาคณิตเชิงอนุพันธ์[TU Subject Heading]
เรขาคณิต[TU Subject Heading]
เรขาคณิตในสถาปัตยกรรม[TU Subject Heading]
เรขาคณิตวิเคราะห์[TU Subject Heading]
เรขาคณิตเชิงพรรณา[TU Subject Heading]
เรขาคณิตเชิงภาพฉาย[TU Subject Heading]
ตัวอย่างประโยคจาก Open Subtitles**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
คณิตศาสตร์ฉันดีกว่านาย ใช่ไหม?Wild Reeds (1994)
นี่เป็นคณิตพรุ่งนี้Wild Reeds (1994)
พีชคณิตหรือครับBig (1988)
ใช่แล้ว นั่นคือพีชคณิตล่ะนะBig (1988)
เขาเป็นคนที่ยอดเยี่ยมมาก ที่ 14 เขาได้รับรางวัลการแข่งขันคณิตศาสตร์The Russia House (1990)
คณิตศาสตร์The Russia House (1990)
พิธาโกรัสเชื่อว่าดนตรี เป็นการฝึกทางคณิตศาสตร์The Young Indiana Jones Chronicles (1992)
เป็นการฝึกทางคณิตศาสตร์ เพื่อให้เกียรติพระเจ้า และคุณจะต้องสอบมันThe Young Indiana Jones Chronicles (1992)
คนก่อนที่ทำได้ ยังได้รางวัลโนเบิล แชมป์คณิตศาสตร์โลก กลายเป็นนักดาราศาสตร์ชื่อดัง เป็นศาสตราจารย์กระจอกที่ M.I.T.Good Will Hunting (1997)
หนูเรียนห้องอาจารย์ พวกเราทุกคน รออยู่ที่อาคารวิทย์คณิตค่ะGood Will Hunting (1997)
ผมจะไปเรียนคณิตศาสตร์ แต่ผมไม่ไปหาจิตแพทย์เด็ดขาดGood Will Hunting (1997)
นักคณิตศาสตร์เหรียญทองและ นักวิชาการคณิตศาสตร์ หวัดดีGood Will Hunting (1997)
รู้แล้วต้องทึ่ง รางวัลโนเบลสาขาคณิตศาสตร์Good Will Hunting (1997)
จากตรงนั้นเขาได้พลิกประวัติศาสตร์ จนนักคณิตศาสตร์ไม่ยอมรับอยู่ ตั้งหลายปีGood Will Hunting (1997)
เขาสร้างช่วยกันทฤษฎีคณิตศาสตร์ ที่น่าตื่นเต้นที่สุดGood Will Hunting (1997)
เรารู้ทฤษฎีของนาย แต่เด็กคนนั้นเขียนรูปเรขาคณิต ได้สบายๆ เลยนะGood Will Hunting (1997)
แข่งขันคณิตศาสตร์ เป็นของสถาบันGood Will Hunting (1997)
เป็นเด็กที่ฉลาดมากด้านคณิตศาสตร์Good Will Hunting (1997)
ถ้าเรื่องคณิตกับเคมี ผมบอกตรงๆ หวานหมูGood Will Hunting (1997)
เป็นทฤษฎีที่ล้ำลึกเกี่ยวกับตัวเลข และการแก้สูตรคณิตศาสตร์Good Will Hunting (1997)
ตามหลักคณิตศาสตร์ง่ายๆTitanic (1997)
นั่นเป็นสมการเรขาคณิตที่ยากที่สุดในโลกRushmore (1998)
ผมขอลายเซ็น ในใบสอบเรขาคณิตด้วยครับRushmore (1998)
ก็คงจะเรียนเบิ้ลเอกคณิตศาสตร์ กับแพทย์ศาสตร์ คุณเอกอะไรฮะRushmore (1998)
คณิตศาสตร์เป็นภาษาของธรรมชาติPi (1998)
แต่ชีวิตมันไม่ใช่แค่คณิตศาสตร์ แมกซ์Pi (1998)
- ผมทำงานกับคอมพิวเตอร์ คณิตศาสตร์น่ะPi (1998)
- คณิตเหรอ ประเภทไหนล่ะ ?Pi (1998)
ฮีบรูคือคณิตศาตร์ทั้งหมด คือตัวเลขทั้งมวลPi (1998)
ฟีโบนาชชี เป็นนักคณิตศาตร์ชาวอิตาเลียน สมัยศตวรรษที่ 13Pi (1998)
เห็นมั้ย ที่ไหน ๆ ก็มีคณิตศาสตร์Pi (1998)
ทรมานนักคณิตศาสตร์กรีกผู้ยิ่งใหญ่ อยู่หลายวันPi (1998)
ไม่สามารถคำนวณออกมาง่าย ๆ โดยสมการคณิตศาสตร์Pi (1998)
นักคณิตศาตร์ , ผู้นำทางศาสนา...Pi (1998)
ตัวอย่างชัดเจนที่สุดเชิงเรขาคณิต ก็คือสี่เหลี่ยมมุมฉากทองPi (1998)
เหลวใหลน่า มันคือคณิตศาสตร์ ตัวเลข ไอเดีย...Pi (1998)
- เราต้องไปให้ถึงสุดขอบ - มีสิ่งสำคัญกับชีวิตมากกว่าคณิตศาสตร์Pi (1998)
เรียนพิชคณิตรู้เรื่องมั้ยNever Been Kissed (1999)
จากหนังสือคณิตศาสตร์ หน้า 216 หัวข้อ 14-8Crazy First Love (2003)
ฉันจะจดจำ ชมรมบ้าคณิตศาสตร์ แอบทำ บัตรประจำตัวปลอมสุดเจ๋งThe Girl Next Door (2004)
อธิบายเรื่องนี้กับฉัน หากแหล่งที่มาของสัญญาณเป็นดังนั้น ที่มีความซับซ้อนทำไมคณิตศาสตร์แก้ไข?Contact (1997)
คณิตศาสตร์เป็นภาษา สากลอย่างแท้จริงเท่านั้นContact (1997)
เวลามาตรฐาน ของภูเขา มันเป็นทางคณิตศาสตร์ ส่วนใหญ่ และทั้งๆที่มีการรายงาน ไปในทางตรงกันข้ามContact (1997)
เราได้พยายามกว่าล้านพีชคณิตContact (1997)
การทดสอบก่อนที่ระบุจูงใจสูง ต่อวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์Contact (1997)
นี้เป็นกุญแจสำคัญ ที่ช่วยให้เราสามารถถอดรหัส ภาษาของพวกเขา ฟิสิกส์เรขาคณิตเคมี กรอบถัดไปเอลลีContact (1997)
ภายในโครงสร้างทาง เรขาคณิตของบางชนิด นี้และเบาะแสตามบริบทอื่น ๆ ขณะนี้นักวิทยาศาสตร์ สามารถนำไปสู่Contact (1997)
... ชมรมคณิตศาสตร์และชมรมหมากรุกThe Day After Tomorrow (2004)
ฉันตื่นมาตอนเช้า... ทานข้าวเช้า / เรียนคณิตศาสตร์ ภาษาลาติน แล้วก็ทานมื้อกลางวัน จากกนั้นก็เรียนเทนนิส เรียนเต้นรำ...The Notebook (2004)
ใช่ ฉันชอบคณิตศาสตร์ / ทำไมล่ะMean Girls (2004)
Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
[anukrom lēkkhanit] (n, exp) EN: arithmetic series ; arithmetical series  FR: série arithmétique [ f ]
[anukrom rēkhākhanit] (n, exp) EN: geometric series
[baēpfeuk-hat lēkkhanit] (n, exp) EN: arithmetic exercise  FR: exercice d'arithmétique [ m ]
[dōi withī phīchakhanit] (adv) FR: algébriquement
[jamnūan lēkkhanit] (n, exp) EN: arithmetic number   FR: nombre arithmétique [ m ]
[khāchalīa lēkkhanit] (n, exp) EN: arithmetic mean  FR: moyenne arithmétique [ f ]
[khanitkøn] (n) EN: computer  FR: calculateur [ m ]
[khanittasāt] (n) EN: mathematics ; math  FR: mathématiques [ fpl ] ; maths [ fpl ] (fam.)
[khanittasāt børisut] (n, exp) EN: pure mathematics ; pure math
[khanittasāt fisik] (n, exp) EN: mathematical physics  FR: physique mathématique [ f ]
[khanittasāt kānngoen] (n, exp) EN: mathematical finance ; mathematics of finance ; financial engineering ; financial mathematics
[kīokap phīchakhanit] (adj) EN: algebraic  FR: algébrique
[kot khøng lēkkhanit] (n, exp) EN: laws of arithmetic
[lēkkhanit] (n) EN: arithmetic  FR: arithmétique [ f ]
[nak khanittasāt] (n) EN: mathematician  FR: mathématicien [ m ] ; mathématicienne [ f ]
[nak phīchakhanit] (n, exp) FR: algébriste [ m ]
[niphot thāng khanittasāt] (n, exp) EN: numeric expression
[phīchakhanit] (n) EN: algebra  FR: algèbre [ f ]
[rēkhākhanit] (n) EN: geometry  FR: géométrie [ f ]
[rēkhākhanit børisut] (n, exp) EN: pure geometry
[rēkhākhanit wikhrǿ] (n, exp) EN: analytic geometry  FR: géométrie analytique [ f ]
[rūp rēkhākhanit] (n, exp) FR: figure géométrique [ f ] ; forme géométrique [ f ]
[rūp rēkhākhanit sām] (n, exp) FR: figure géométrique à 3 dimensions [ f ]
[rūp rēkhākhanit søng miti] (n, exp) FR: figure géométrique à 2 dimensions [ f ]
[rūpsong rēkhākhanit] (n, exp) EN: geometric form  FR: forme géométrique [ f ]
[thāng lēkkhanit] (adj) EN: arithmetic  FR: arithmétique
[wichā khanittasāt] (n, exp) EN: mathematics  FR: mathématiques [ fpl ]
[wichā lēkkhanit] (n, exp) EN: arithmetic
Longdo Approved EN-TH
(n)คณิตกร (ศัพท์บัญญัติในภาษาไทย)
(n)(คณิต.) ปริภูมิ
(n)(คณิต.) ขอบเขตกำเนิด
(n)จำนวนสมาชิกในเซ็ตทางคณิตศาสตร์ที่ให้มา
(n)วิทยาการข้อมูล, สหวิทยาการซึ่งประกอบด้วยวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณิตศาสตร์ สถิติ และสาขาที่เกี่ยวข้อง ซึ่งใช้ในการวิเคราะห์และทำความเข้าใจข้อมูลเพื่อนำไปใช้ประโยชน์ต่อไป [ ศัพท์คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ฉบับราชบัณฑิตยสภา ]
NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
(n)พีชคณิต
(adj)เกี่ยวกับพีชคณิต
(n)ระยะทางจากฐานถึงจุดสูงสุด (เรขาคณิต)
(adj)เกี่ยวกับเลขคณิตSyn.arithmetical, mathematical
(n)คณิตศาสตร์Syn.mathematics
(adj)เกี่ยวกับเลขคณิตSyn.arithmetic, mathematical
(n)องศา (หน่วยวัดมุมทางเราขาคณิต)
(vi)หาร (ทางคณิตศาสตร์)Syn.subdivide, separateAnt.integrate, unite
(vt)หาร (ทางคณิตศาสตร์)Syn.subdivide, separateAnt.integrate, unite
(n)การใช้เทคนิคทางคณิตศาสตร์และทางสถิติในการทดสอบทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์
(n)รูปทรงเรขาคณิตที่มีลักษณะเป็นรูปกลมรีเหมือนไข่
(n)วัตถุทรงกลมที่กลิ้งไปรอบๆ เส้นรอบวงของวัตถุทรงกลมที่ใหญ่กว่า (ทางเรขาคณิต)
(n)สมการ (คณิตศาสตร์)
(adj)(รูปทรงเรขาคณิต) ซึ่งมีมุมเท่ากันทุกมุม
(adj)(รูปทรงเรขาคณิต) ซึ่งมีด้านเท่ากันทุกด้าน
(n)นักคณิศาสตร์ชาวกรีก ผู้สร้างแบบเรียนมาตรฐานทางเรขาคณิตซึ่งใช้มาจนถึงศตวรรษที่ 19
(n)ตัวประกอบ (ทางคณิตศาสตร์)
(n)ความสัมพันธ์ทางคณิตศาสตร์เกี่ยวกับจำนวนที่ขึ้นอยู่กับจำนวนอื่น มีสัญลักษณ์คือ f
(n)อนุกรมเรขาคณิต
(n)นักเรขาคณิต
(n)เรขาคณิต
(n)ค่าคงที่ (ทางคณิตศาสตร์)
(n)เส้นโค้ง (ทางเรขาคณิต)
(n)ตัวคูณร่วมน้อย (ทางคณิตศาสตร์)Syn.l.c.m.
(n)คณิตศาสตร์ลอการิทึมSyn.logarithm
(n)คณิตศาสตร์ลอการิทึมSyn.log
(n)คณิตศาสตร์ (คำเรียกย่อของวิชาคณิตศาสตร์)See Also:เลขSyn.mathematics
(adj)เกี่ยวกับคณิตศาสตร์See Also:เกี่ยวกับการคำนวณSyn.arithmetical, numerical, scientific
(adv)ทางคณิตศาสตร์
(n)นักคณิตศาสตร์
(n)คณิตศาสตร์See Also:เลข, เลขคณิต, วิชาคำนวณSyn.math
(n)วิชาคณิตศาสตร์
(n)เมตริกซ์ (ทางคณิตศาสตร์)Syn.vector, tensor
(n)ค่ากลาง (ทางคณิตศาสตร์)See Also:ค่ามีเดียน, ค่าเฉลี่ยSyn.average, center
(n)เครื่องหมายลบ (ทางคณิตศาสตร์)
(n)เครื่องหมายที่ใช้แทนระบบตัวเลขหรือเสียงSee Also:สัญลักษณ์ที่ใช้แทนความหมายในทางดนตรี คณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์
(n)การศึกษาศิลปะแนวสื่อความหมายด้วยรูปแบบเรขาคณิตและสีSyn.Op Art, Op
(n)เส้นโค้งวงกลม (ทางเรขาคณิต)See Also:เส้นพาราโบลาSyn.arc
(n)เส้นรอบวง (ทางเรขาคณิต)Syn.circumference
(n)ไม้โปรแทรคเตอร์ สำหรับวัดมุมทางเรขาคณิต
(n)สาขาพีชคณิตที่ศึกษาเกี่ยวกับ quadratic equation
(n)ราก (คำศัพท์, ตัวเลขทางคณิตศาสตร์)
(n)ราก (ทางคณิตศาสตร์)
(n)จำนวนเลขที่กลับกัน (ทางคณิตศาสตร์)Syn.complement
(vt)หาความยาวของเส้นโค้ง (ทางคณิตศาสตร์)
(n)รากในคณิตศาสตร์See Also:กรณฑ์
(n)วิธีการคำนวณทางคณิตศาสตร์
(n)เส้นที่ลากตัดเส้นโค้งที่2จุดหรือมากกว่า2จุด (ทางเรขาคณิต)
Hope Dictionary
(อะบี' เลียน, อะเบล' ยัน) adj. เกี่ยวกับ Niels Henrik Abel (นักคณิตศาสตร์มีชื่อ) เปลี่ยนกลุ่มได้, กลุ่มที่เปลี่ยนได้
(คณิต) ค่าสูงสุดของ function ของ set เฉพาะ
(คณิต) n. ปริมาณที่ไม่เกี่ยวกับเครื่องหมาย, ระยะทางจากศูนย์ (molulus)
(แอล' จิบรา) n. พืชคณิต
(แอลจิเบร' อิค) adj. เกี่ยวกับพืชคณิตSyn.algebraical -algebraist n.
(แอล' กะริสซึม) n. ระบบเครื่องหมายทางคณิตศาสตร์ของอาหรับ (โดยใช้ตัวเลข 1, 2, 3.......) วิธีการคำนวณด้วเลขอาหรับ, ลำดับขึ้นตอนที่แน่นอนซึ่งใช้ในการแก้ปัญหา, ขั้นตอนวิธี, ชุดของคำสั่งที่กำหนดไว้อย่างมีขั้นตอนเพื่อใช้แก้ปัญหาใดปัญหาหนึ่ง -algorismic adj.
(แอล' กะริธธึม) n. ระบบกฏเกณฑ์ในการแก้ปัญหาของจำนวนที่แน่นอนทางคณิตศาสตร์เช่นในการหาค่าของตัวหารร่วมที่สุด.Syn.algorism, -algorithmic adj. ขั้นตอนวิธีอัลกอริทึมหมายถึง การวิเคราะห์แยกแยะวิธีการทำงานให้เป็นขั้นเป็นตอนโดยกำหนดให้เรียงกันไปตามลำดับ การเขียนโปรแกรมในยุคแรก ๆ นั้น ผู้เขียนโปรแกรมจะต้องมองเห็นขั้นตอนในการแก้ปัญหาอย่างแจ่มชัดเสียก่อน จึงจะเขียนโปรแกรมได้
(เอแอลยู) ย่อมาจาก arithmetic and logical unit เป็นส่วนหนึ่งของหน่วยประมวลผลกลางของเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ทำหน้าที่คำนวณทางคณิตศาสตร์ และเปรียบเทียบทางตรรกะดู central processing unit ประกอบ
(แอน' นะลอกคอมพิวเตอร์) n. เครื่องคอมพิวเตอร์ที่คำนวณด้วยสิ่งที่แทนตัวเลขได้ และมีการแสดงผลลัพธ์โดยทางภาพที่ปรากฏบนจอภาพ หน้าปัด หรืออ่านค่าได้จากเครื่องวัด ค่าต่าง ๆ ที่นำมาใช้กับการคำนวณด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ชนิดนี้ เป็นค่าที่ต่อเนื่อง เช่น อุณหภูมิ ความดัน อย่างไรก็ตาม การใช้คอมพิวเตอร์ชนิดนี้ จำเป็นต้องใช้สูตรทางคณิตศาสตร์ช่วย เพื่อจะนำมาเปรียบเทียบแทนค่าได้ ตัวอย่างที่เห็นง่าย ๆ ได้แก่ สไลด์รูล (slide rule) เทอร์โมแสตท (thermostat) เครื่องวัดความเร็วรถยนต์ เป็นต้น ความละเอียดถูกต้องในการคำนวณด้วยอะนาล็อกคอมพิวเตอร์มีน้อยกว่าดิจิตอลคอมพิวเตอร์มากดู digital computer เปรียบเทียบ
วิชาเรขาคณิตที่นำเอาวิธีการทางพีชคณิตมาใช้ ว่าด้วยการจำแนกจุด เส้นและเนื้อที่ (a branch of mathematics)
(อาร์คิมี'ดี') n. ชื่อนักคณิตศาสตร์ นักประดิษฐ์และนักฟิสิกส์ของกรีก ผู้ค้นพบกฎแห่งความถ่วงและคาน. -Archimedean adj.
(อะริธ'เมททิค) n. เลขคณิต, หนังสือเกี่ยวกับเลขคณิต. -adj. เกี่ยวกับเลขคณิต
หน่วยคำนวณและตรรกะ <คำแปล>ใช้ตัวย่อว่า ALU เป็นส่วนหนึ่งของหน่วยประมวลผลกลางของเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ทำหน้าที่คำนวณทางคณิตศาสตร์ และเปรียบเทียบทางตรรกะ ดู central processing unit ประกอบ
(อะริธมีทิช'เชิน) n. ผู้ชำนาญเลขคณิต (expert in arithmetic)
รูปโค้งเบซิเอร์หมายถึง รูปเส้นโค้งทางคณิตศาสตร์รูปหนึ่ง เป็นโค้งที่ไม่มีรูปลักษณ์ที่มีกฏเกณฑ์เป็นสูตรกำหนด การสร้างเส้นโค้งในโปรแกรมบางโปรแกรม จะต้องเริ่มด้วยการลากเส้นตรงขึ้นมาเส้นหนึ่งก่อน แล้วสร้างจุดสองจุดบนเส้นตรงนั้น ใช้เมาส์ดึงแต่ละจุดขึ้นไป ในทิศทางที่ต่างกัน ก็จะได้โค้งแบบเบซีเอร์ ขึ้นมา
ตรรกะแบบบูลหมายถึง ค่า"จริง" (True) หรือ "ไม่จริง " (False) ใช้มากในการเขียนโปรแกรม เป็นหลัก พิชคณิต ที่ตั้งตามชื่อของผู้คิด คือ ยอร์ช บูล (George Boole) หลักทั่วไปคล้ายพิชคณิต ธรรมดา แต่ใช้ระบบเลขฐานสอง
(คัมพิว'เทอะ) n. เครื่องคอมพิวเตอร์, เครื่องคำนวณ, ผู้คำนวณ คณิตกรณ์หมายถึง อุปกรณ์ชนิดหนึ่งที่ทำงานด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ สามารถจำข้อมูลและคำสั่งได้ ทำให้สามารถทำงานไปได้ โดยอัตโนมัติด้วยอัตราความเร็วที่สูงมาก ใช้ประโยชน์ในการคำนวณหรือการทำงานต่าง ๆ ได้เกือบทุกชนิด มี 3 ขนาด คือ ขนาดใหญ่ (main frame) ขนาดกลาง (mini computer) และขนาดเล็กที่กำลังได้รับความนิยมทั่วไปในขณะนี้ เรียกว่า ไมโครคอมพิวเตอร์ (micro computer) หรือ คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (personal computer) ที่เรียกกันย่อ ๆ ว่า พีซี ปัจจุบัน การใช้ระบบเครือข่ายทำให้เราสามารถใช้คอมพิวเตอร์เป็นที่ค้นหาข้อมูลต่าง ๆ สื่อสารได้ นอกเหนือไปจากการใช้เพื่อการคำนวณตามวัตถุประสงค์ดั้งเดิมของผู้ประดิษฐ์
ภาษาคอมพิวเตอร์หมายถึงภาษาที่ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ หรือใช้เพื่อสื่อสารให้คอมพิวเตอร์เข้าใจ และสามารถปฏิบัติตามคำสั่งได้ โดยปกติเราแบ่งภาษาที่ใช้กับคอมพิวเตอร์ออกเป็น 2 ชนิด คือ1. ภาษาเครื่อง (machine language) คำสั่งที่เขียนด้วยภาษานี้เครื่องจะรับรู้และปฏิบัติตามได้ทันที ผู้ออกแบบคอมพิวเตอร์แต่ละแบบก็จะคิดแบบของภาษาที่ใช้กับเครื่องนั้น ๆ ขึ้นเป็นภาษาเฉพาะของเครื่องลักษณะของภาษาประเภทนี้จะเป็นตัวเลขฐานต่าง ๆ ขึ้นอยู่กับการออกแบบ ฉะนั้นจึงเป็นการยากสำหรับผู้เขียนโปรแกรม ซึ่งต้องเรียนรู้รายละเอียดของเครื่องนั้น ๆ ก่อน จึงจะใช้ภาษาได้2. ภาษาแนวมนุษย์ (human oriented language) หมายถึงภาษาที่มนุษย์เข้าใจ (แต่เครื่องไม่เข้าใจ) เนื่องจากภาษาเครื่องยุ่งยากและสับสน จึงมีการคิดภาษาหนังสือซึ่งมนุษย์เราเคยชินกันอยู่แล้วขึ้น แล้วใช้ตัวแปล (translator) แปลเป็นภาษาเครื่องอีกทีหนึ่ง เครื่องจึงจะดำเนินการได้ ภาษาแนวมนุษย์นี้แบ่งออก ได้เป็น 2 ระดับ คือ2.1 ภาษาระดับต่ำ (low - level language) เช่น ภาษาแอสเซมบลี (Assembly) 2.2 ภาษาระดับสูง (high - level language) เช่นภาษาฟอร์แทรน (FORTRAN) โคบอล (COBOL) ลักษณะของภาษาระดับสูงนี้ ได้มีการประดิษฐ์ขึ้นให้เหมาะสมกับงานเฉพาะอย่าง เช่น ภาษาฟอร์แทรน เหมาะกับงานทางคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และงานวิจัย ภาษาโคบอลและอาร์พีจี (RPG) เหมาะกับงานด้านธุรกิจ เป็นต้น นอกจากนี้ ก็ยังมีภาษาอื่นที่เป็นที่นิยมอีกมาก ภาษาเหล่านี้จะใช้ได้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนมาก เพราะในคอมพิวเตอร์ จะมีตัวแปล (translator) ซึ่งมีหน้าที่คอยแปลภาษาแนวมนุษย์ให้เป็นภาษาเครื่องอีกทีหนึ่ง การใช้ภาษาแนวมนุษย์นี้มีข้อดีคือ ใช้ง่ายกว่า มีความผิดพลาดน้อย แก้ไขตอนหนึ่งตอนใดได้ง่ายกว่า และเขียนได้สั้นกว่า เพราะบางทีคำสั่งเพียงคำสั่งเดียวก็มีผลเท่ากับหลาย ๆ คำสั่งของภาษาเครื่อง แต่ภาษาเครื่องก็มีส่วนดี ตรงที่ใช้เวลาของเครื่องน้อยกว่า เพราะไม่ต้องเสียเวลาในการแปล
(คอน'นิคซฺ) n. สาขาเรขาคณิตที่เกี่ยวกับรูปกรวย
ตัวประมวล (ผล) ร่วมหมายถึง ตัวประมวลผลตัวหนึ่ง ที่แยกออกมาเพื่อเอาไว้ใช้ทำงานในส่วนที่เกินความสามารถของตัวประมวลผลหลัก เพื่อที่จะทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงานได้เร็วขึ้น เช่น ตัวประมวลภาพจะทำหน้าที่เฉพาะในเรื่องการแสดงภาพ ตัวประมวลผลคณิตก็จะทำหน้าที่เฉพาะด้านการคำนวณ
(ดิฟฟะเรน'เชิน) adj., n. เกี่ยวกับความแตกต่างกัน, เกี่ยวกับหรือประกอบด้วยอนุพันธ์ (derivative-วิชาคณิตศาสตร์)
n. สาขาคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวกับความแตกต่างและอนุพันธ์
ดิจิตอลคอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์เชิงเลขหมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร์แบบหนึ่ง ซึ่งจะแก้ปัญหาได้ด้วยวิธีการทางเลขคณิต โดยป้อนข้อมูลเป็นตัวเลข และให้ผลลัพธ์เป็นเลข คอมพิวเตอร์ชนิดนี้ จะคิดคำนวณในระบบตัวเลขด้วยสัญญาณดิจิตอล คือ บวก ลบ คูณ หาร และเปรียบเทียบ และจะให้ค่าที่ไม่ต่อเนื่อง คอมพิวเตอร์นั้นแบ่งตามลักษณะการรับ/ส่งข้อมูลเป้น 2 ชนิด คือ อะนาล็อกคอมพิวเตอร์ (analog computer) และดิจิตอลคอมพิวเตอร์ (digital computer) คอมพิวเตอร์ที่ใช้กันอยู่ทุกวันนี้ส่วนมากจะเป็น ดิจิตอลคอมพิวเตอร์เกือบทั้งสิ้น ผลลัพธ์จากคอมพิวเตอร์ชนิดนี้ จะถูกต้องและแม่นยำกว่าอะนาล็อกคอมพิวเตอร์ดู analog computer เปรียบเทียบ
(ดิสครีม'มะเนินทฺ) n. เครื่องแสดงทางคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวกับ roots
(โดเมน') n. อาณาเขตการปกครอง, อาณาจักร, ที่ดินขอบเขต, กลุ่มของคำ (ในทางคณิตศาสตร์) ของตัวแปรอิสระของ functionSee Also:domainal, domainial adj.Syn.discipline
รหัสแอสกีแบบขยายเดิมรหัสแอสกีจะมีสัญลักษณ์ 128 ตัวอักขระ แต่ต่อมาได้เพิ่มเป็น 255 ตัวอักขระ ชุดตัวอักขระ 255 ตัวนี้ที่เรียกว่ารหัสแอสกีขยาย ซึ่งจะเพิ่มรหัสสำหรับภาษาต่างประเทศ สัญลักษณ์คณิตศาสตร์ และภาพสัญลักษณ์ต่าง ๆ วิธีใช้ ก็เพียงแต่กดแป้น ALT พร้อมกับเลขตั้งแต่ 51-255 กำหนดแบบอักษร (font) ที่เป็นภาพ เช่น Wingdings ก็จะได้สัญลักษณ์ต่าง ๆ เช่น ถ้ากดแป้น ALT กับรหัส 255 จะได้สัญลักษณ์เป็นภาพสัญลักษณ์วินโดว์
เลขไฟโบนาชชี่หมายถึง แบบแผนทางคณิตศาสตร์แบบหนึ่งที่กำหนดให้ จำนวนเลขลำดับที่สาม เป็นผลบวกของเลขสองตัวที่อยู่ลำดับ ก่อนหน้า เช่น 4, 8, 12, 20, 32..... (12 เป็นผลบวกของ 4 กับ 8 และ 20 เป็นผลบวกของ 8 กับ 12 เป็นดังนี้ไปเรื่อย ๆ) ใช้ได้ดีในการเขียนโปรแกรมบางโปรแกรม เพราะทำให้สามารถเข้าสู่จุดตำแหน่งที่ต้องการได้รวดเร็วขึ้น (บางทีเรียก fibonacci series หรืออนุกรมไฟโบนาชชี)
(ฟอร์แทรน) เป็นชื่อภาษาระดับสูง (high level language) ที่ใช้ในการเขียนโปรแกรมภาษาหนึ่ง สร้างขึ้นเป็นภาษาแรก ๆ เพื่อให้นัก คณิตศาสตร์ใช้ได้สะดวก และรวดเร็ว ย่อมาจากคำว่า FORmular TRANslator ซึ่งก็แปลได้ว่า ตัวแปลสูตรคณิตศาสตร์ นั่นเอง โปรแกรมภาษาฟอร์แทรนนั้น สามารถนำไปใช้กับ เครื่อง คอมพิวเตอร์ต่าง ๆ ได้หลายยี่ห้อ โดยแทบจะไม่ต้อง ปรับ แก้เลย ก่อนหน้าที่จะมีการใช้ภาษานี้ นักเขียนโปรแกรม รู้จัก แต่ภาษาแอสเซมบลี (Assembly)
(ฟังคฺ'เชิน) หน้าที่, การปฏิบัติงาน, ภาระกิจ, งาน, พิธี, บทบาท, ประสิทธิภาพ, การชุมนุมใหญ่, (คณิตศาสตร์) จำนวนที่ขึ้นอยู่กับจำนวนอื่น, ฟังค์ชัน. vi. ปฏิบัติหน้าที่, กระทำ, ใช้ตำแหน่งหน้าที่Syn.perform, work, do
(เจนนะเร'ทริคซฺ) n. ตัวสร้างรูป (คณิตศาสตร์) -pl. generatrices
(จีออม'มิเทอะ) n. นักเรขาคณิต
(จีอะเมท'ทริค) adj. เกี่ยวกับเรขาคณิตSee Also:geometrically adv.Syn.geometrical
อนุกรมค่าเรขาคณิตSyn.geometric series
อนุกรมค่าเรขาคณิตSyn.geometric series
n. นักเรขาคณิต
(จีออม'เมที) n. เรขาคณิต
ขนาดมือถือเป็นคำบอกขนาดของไมโครคอมพิวเตอร์ที่เล็กกว่าขนาดวางตัก (laptop) และขนาดโน้ตบุ๊ก (notebook) มีลักษณะคล้ายเครื่องคิดเลขที่มีหน่วยความจำ มีสูตรคณิตศาสตร์ต่าง ๆ เก็บไว้
(อิน' เดคซฺ) n. ดรรชนี, เครื่องชี้, เข็มชี้, นิ้วชี้, เลขกำลังในเครื่องหมายพีชคณิต, สารบัญสิ่งตีพิมพ์ที่ต้องห้ามในศาสนาโรมันคาทอลิก (Index Librorum Prohibitorum) , หนังสือหรือวัตถุที่ต้องห้าม, สารบัญ, คำนำ. -vt. จัดให้มีสารบัญ, จัดให้มีดรรชนี, ใส่ดรรชนี, เ
(ลอ) { lawed, lawing, laws } n. กฎหมาย, กฎ, กฎข้อบังคับ, คำสั่ง, วิชากฎหมาย, ความรู้ทางกฎหมาย, อาชีพกฎหมาย, หลักความประพฤติ, กฎทางคณิตศาสตร์ -Phr (the Law บัญญัติสิบประการของโมเซส, คำสั่งสอนในพระคัมภีร์ไบเบิล) . vi., vt. ดำเนินคดี, ฟ้องร้อง
ศิลปศาสตร์ (ประกอบด้วยวิชาsocial sciences, natural sciences, humanitiesและarts) , 7 อย่างที่เกี่ยวกับศิลปะสมัยก่อนคือดาราศาสตร์, ตรรกวิทยา, ไวยากรณ์, การพูด, เลขคณิต, เรขาคณิต, ดนตรี
(โล'คัส) n. สถานที่, ตำแหน่ง, ตำแหน่งของ genes ในโครโมโซม, (คณิตศาสตร์) ชุดของจุดทั้งหมดเส้นทั้งหมดหรือผิวหน้าทั้งหมด ที่มีลักษณะตามที่ต้องการ pl. -lociSyn.site, place
(โลจิส'ทิค) adj. เกี่ยวกับตรรกวิทยา n. ตรรกสัญลักษณ์, การคำนวณทางคณิตศาสตร์, วิชาคำนวณ, พลาธิการ, การส่งกำลังบำรุงทางทหาร
(แมธ) n. คณิตศาสตร์, abbr. mathematics
ตัวประมวลผลร่วมคณิตศาสตร์หมายถึง แผ่นวงจรพิเศษหรืออาจเป็นชิปที่สร้างไว้เพื่อให้ทำหน้าที่เฉพาะในการคำนวณ เพื่อช่วยเสริมหน่วยประมวลผลอีกชั้นหนึ่ง ซอฟต์แวร์บางตัวจะมีคำสั่งเรียกเอาตัวประมวลคณิตนี้มาใช้โดยอัตโนมัติ ฉะนั้น ถ้านำโปรแกรมนั้นมาใช้กับคอมพิวเตอร์ที่ไม่มีตัวประมวลชนิดนี้ ก็อาจจะมีปัญหาได้
(al) (แมธธะแมท'ทิเคิล) adj. เกี่ยวกับคณิตศาสตร์, แน่นอน, แม่นยำ.See Also:mathematic al ly adv.
n. นักคณิตศาสตร์
(แมธธะแมท'ทิคซฺ) n. คณิตศาสตร์
(โอ'มาร์ ไคยาม', แยม, โอ'มาร์) n. นักกวีและนักคณิตศาสตร์ชาวเปอร์เซียสมัยโบราณ
(ออพพะเร'เชิน) n. การกระทำ, การทำงาน, ปฏิบัติการ, ศัลยกรรม, การเดินเครื่อง, การสู้รบ, วิธีการทางคณิตศาสตร์ (เช่นการบวก, การลบหรืออื่น ๆ) , กิจการ, ปฏิบัติการทางทหาร, ยุทธการSyn.working, act, maneuver
n. การวิจัยปฏิบัติการโดยใช้วิธีการทางคณิตศาสตร์ เพื่อหาเป้าหมายและให้ได้ประสิทธิภาพที่มากที่สุด
Nontri Dictionary
(n)พีชคณิต
(n)คณิตศาสตร์
(adj)เกี่ยวกับคณิตศาสตร์
(n)นักคณิตศาสตร์
(n)คณิตศาสตร์ประยุกต์ว่าด้วยสัณฐานและมิติของโลก
(adj)ทางเรขาคณิต, ตามเรขาคณิต, เกี่ยวกับเรขาคณิต
(adj)ทางเรขาคณิต, ตามเรขาคณิต, เกี่ยวกับเรขาคณิต
(n)เรขาคณิต
(adj)เกี่ยวกับคณิตศาสตร์
(n)นักคณิตศาสตร์
(n)คณิตศาสตร์
Longdo Unapproved EN-TH**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
(n)นักคณิตศาสตร์ประกันภัย
เรขาคณิตแบบอุดมคติ
1. แผ่นแบบเจาะลายโค้งหลายขนาดใช้เขียนเส้นโค้ง (คำศัพท์วิศวกรรม) 2. ไม้โค้งเขียนแบบ [ คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗ ]
(n)เรขาคณิตสารสนเทศ
ลบ (ทางคณิตศาสตร์)
(adj)(adj.) เิชิงสัณฐานวิทยา เช่น (Mathematical) morphological Operation การปฎิบัติการเิชิงสัณฐานวิทยา(ทางคณิตศาสตร์)See Also:morphology
Longdo Approved JP-TH
[すうがく, suugaku]คณิตศาสตร์
Saikam JP-TH-EN Dictionary
形式
[けいしき, keishiki] TH: สูตรสมการคณิตศาสตร์
形式
[けいしき, keishiki] EN: math expression
Longdo Approved DE-TH
(n)|die, pl. Achsen| แกน (ทางคณิตศาสตร์) เช่น die X-Achse แกนเอ็กซ์
(n)|die, pl. Wurzeln| รากเชิงคณิตศาสตร์ เช่น Die zweite Wurzel aus sechzehn ist vier. รากที่สองของสิบหกคือสี่
(n)|die, pl. Formeln| สูตรทางคณิตศาสตร์
(n)|der, pl. Räume| (คณิต.) ปริภูมิ
(adj)เิชิงสัณฐานวิทยา เช่น (Mathematische) morphologische Operation การปฎิบัติการเิชิงสัณฐานวิทยา(ทางคณิตศาสตร์)See Also:morphologie
เพิ่มคำศัพท์
add
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ