ขั้วไฟฟ้า[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
ขั้วไฟฟ้าคาร์บอน[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
ขั้วไฟฟ้า[TU Subject Heading]
เครื่องเร่งอิเล็กตรอนเชิงเส้น, เป็นเครื่องเร่งอนุภาคแบบหนึ่ง ใช้เร่งอิเล็กตรอน โดยอิเล็กตรอนจะถูกเร่งให้วิ่งเป็นเส้นตรงภายใต้สนามไฟฟ้าสถิตย์(electrostatic field) หรือสนามไฟฟ้าสลับย่านความถี่คลื่นวิทยุ (Radio frequency field) เครื่องเร่งอนุภาคทั้งสองแบบ ให้อิเล็กตรอนที่มีช่วงพลังงานแตกต่างกัน ในเครื่องเร่งแบบไฟฟ้าสถิตย์ (electrostatic accelerator)หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า เครื่องเร่งแบบกระแสตรง (DC-accelerator) อิเล็กตรอนถูกเร่งให้วิ่งเป็นเส้นตรง ภายใต้ความต่างศักย์ระหว่างขั้วไฟฟ้า 2 ขั้ว เครื่องเร่งชนิดนี้สามารถเร่งลำอิเล็กตรอนให้มีพลังงานระหว่าง 0.1-0.5 ล้านอิเล็กตรอนโวลต์ นิยมใช้ในงานเคลือบผิววัตถุ การปรับปรุงคุณภาพวัสดุ เช่น ฉนวนหุ้มสายไฟ การวัลคาไนซ์ของน้ำยาง ในเครื่องเร่งแบบใช้สนามไฟฟ้าย่านความถี่คลื่นวิทยุ (high frequency accelerator) อิเล็กตรอนถูกเร่งให้วิ่งผ่านท่อทรงกระบอกซึ่งเรียงกันเป็นเส้นตรง และต่อกับแหล่งกำเนิดศักดาไฟฟ้าซึ่งสลับขั้วด้วยความถี่ในย่านของคลื่นวิทยุ เครื่องเร่งนี้สามารถเร่งลำอิเลคตรอนให้มีพลังงานสูงในช่วง 5-10 ล้านอิเล็กตรอนโวลต์ เหมาะสำหรับงานผลิตเวชภัณฑ์ปลอดเชื้อ และงานวิจัยทางฟิสิกส์[พลังงาน]
ขั้วไฟฟ้า, อีเลคโทรด, อิเลกโตรด, อิเล็กโตรด, สายดินส่วนที่ฝังดิน[การแพทย์]
ความต่างศักย์ระหว่างขั้วไฟฟ้า[การแพทย์]
อีเล็กโตรดคาโลเมล, ขั้วไฟฟ้าคาโลเมล, อิเล็กโตรดคาโลเม็ล, คาโลเมลอิเล็คโตรด[การแพทย์]
ขั้วไฟฟ้าแก้ว, อีเล็คโตรดเป็นแก้ว[การแพทย์]
ขั้วไฟฟ้าไฮโดรเจนมาตรฐาน[การแพทย์]
ขั้วไฟฟ้าที่มีความจำเพาะกับไอออน[การแพทย์]
ขั้วลบ, ขั้วไฟฟ้าลบ[การแพทย์]
ขั้วไฟฟ้าออกซิเจน[การแพทย์]
ขั้วไฟฟ้าออกซิเจนมาตรฐาน[การแพทย์]
ขั้วบวก, ขั้วไฟฟ้าบวก[การแพทย์]
ขั้วไฟฟ้าสำหรับวัด, อีเล็ตโตรดขั้วที่ใช้บันทึก, อีเล็คโตรดบันทึก, ขั้วไฟฟ้าที่ใช้วัด[การแพทย์]
อีเลคโตรดอ้างอิง, อิเล็กโตรดอ้างอิง, อีเล็คโตรดอ้างอิง, ขั้วไฟฟ้าอ้างอิง[การแพทย์]
การเคลื่อนที่ของไอออน, การที่ไอออนในอิเล็กโทรไลต์เคลื่อนที่เข้าหาขั้วไฟฟ้าซึ่งมีประจุชนิดตรงกันข้ามกับไอออน [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
ขั้วไฟฟ้า, ตัวนำไฟฟ้าที่จุ่มอยู่ในอิเล็กโทรไลต์ ซึ่งจะเป็นส่วนที่เกิดปฏิกิริยาเคมีในเซลล์ไฟฟ้าเคมีหรือเซลล์อิเล็กโทรไลต์[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
ขั้วไฟฟ้ามาตรฐาน, ขั้วไฟฟ้าที่กำหนดขึ้นให้เป็นมาตรฐานสำหรับเปรียบเทียบหาค่าศักย์ไฟฟ้าของครึ่งเซลล์ต่าง ๆ บางครั้งเรียกว่าขั้วไฟฟ้าอ้างอิง เช่น ขั้วไฟฟ้าไฮโดรเจนมาตรฐาน ขั้วไฟฟ้าคาโลเมลอิ่มตัว เป็นต้น[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
ขั้วไฟฟ้าอ้างอิง, ดู standard electrode[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
ขั้วไฟฟ้าไฮโดรเจนมาตรฐาน, ขั้วไฟฟ้าที่ใช้เป็นมาตรฐานสำหรับเปรียบเทียบหาศักย์ไฟฟ้ามาตรฐานของครึ่งเซลล์อื่น ๆ โดยกำหนดค่าศักย์ไฟฟ้าของครึ่งเซลล์นี้ให้เท่ากับศูนย์โวลต์ ขั้วไฟฟ้านี้ประกอบ ด้วยแผ่นแพลทินัมบาง ๆ ที่เคลือบด้วยแพลทินัมแบลก จุ่มอยู่ในสารละลายกรดไฮโดรคลอริกเข้มข้น 1 mol/d[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
แคโทด, 1. ขั้วไฟฟ้าที่มีปฏิกิริยารีดักชันเกิดขึ้น ซึ่งเป็นขั้วไฟฟ้าบวกในเซลล์กัลวานิก หรือเป็นขั้วไฟฟ้าลบในเซลล์อิเล็กโทรไลต์ 2. ขั้วไฟฟ้าที่อยู่ในหลอดสุญญากาศ เช่น หลอดวิทยุ ไดโอด ทำหน้าที่เป็นตัวให้อิเล็กตรอนไหลผ่านและอิเล็กตรอนเหล่านี้จะเคลื่อนที่ไปยังแอโนด แ[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
เซลล์ไฟฟ้าเคมี, ระบบที่ประกอบด้วยขั้วไฟฟ้า 2 ขั้วจุ่มอยู่ในอิเล็กโทรไลต์ ซึ่งเมื่อเกิดปฏิกิริยารีดอกซ์จะให้พลังงานไฟฟ้าออกมา เซลล์ไฟฟ้าเคมีแบ่งเป็น 2 ชนิด คือ เซลล์ไฟฟ้าปฐมภูมิและเซลล์ไฟฟ้าทุติยภูมิ[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
เซลล์สะสมไฟฟ้า, เซลล์ไฟฟ้าเคมีแบบทุติยภูมิชนิดหนึ่ง ที่นิยมใช้กันแพร่หลายก็คือ เซลล์สะสมไฟฟ้าแบบตะกั่ว ซึ่งมีตะกั่วเป็นขั้วไฟฟ้าและสารละลายกรดซัลฟิวริกเป็นอิเล็กโทรไลต์[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
เซลล์อิเล็กโทรไลต์, อุปกรณ์ที่ประกอบด้วยขั้วไฟฟ้า 2 ขั้วจุ่มอยู่ในสารละลายอิเล็กโทรไลต์ จะเกิดปฏิกิริยาเคมีได้ก็ต่อเมื่อได้รับพลังงานไฟฟ้าจากภายนอกเท่านั้น หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งก็คืออุปกรณ์ที่ใช้ในกระบวนการอิเล็กโทรลิซิสนั่นเอง [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
การประจุไฟ, การผ่านไฟฟ้ากระแสตรงเข้าไปในเซลล์ไฟฟ้าแบบทุติยภูมิเพื่อทำให้แผ่นโลหะที่ใช้เป็นขั้วไฟฟ้าอยู่ในสภาพที่จะสามารถเกิดปฏิกิริยาเคมีได้เองและให้พลังงานไฟฟ้าออกมาได้[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
ศักย์ขั้วไฟฟ้า, ดู half-cell potential[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
ศักย์ไฟฟ้าครึ่งเซลล์มาตรฐาน, ความต่างศักย์ที่ได้จากการนำครึ่งเซลล์หนึ่ง ๆ ซึ่งมีความเข้มข้นของไอออนในสารละลาย 1 mol/dm3 อุณหภูมิ 25oC และถ้าเป็นแก๊สให้มีความดัน 1 atm มาต่อเข้ากับขั้วไฟฟ้าไฮโดรเจนมาตรฐาน ซึ่งใช้เป็นครึ่งเซลล์มาตรฐานสำหรับเปรียบเทียบใช้สัญลักษณ์ Eo[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
ขั้วไฟฟ้า, ขั้วตัวนำไฟฟ้าที่จะนำกระแสไฟฟ้าเข้าหรือออกจากระบบ[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
ขั้วไฟฟ้าบวก, ขั้วตัวนำไฟฟ้าที่ต่อกับจุดที่มีศักย์ไฟฟ้าสูงกว่าอีกขั้วหนึ่ง ซึ่งเรียกว่า ขั้วไฟฟ้าลบ[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
ไดโอด, อุปกรณ์ทางอิเล็กทรอนิกส์ซึ่งมีขั้วไฟฟ้า 2 ขั้วยอมให้กระแสไหลผ่านได้ทางเดียวใช้ในเครื่องแปลงไฟฟ้ากระแสสลับให้เป็นไฟฟ้ากระแสตรง ไดโอดมีหลายชนิด แต่ที่นิยมอยู่ทั่วไปเป็นชนิดสารกึ่งตัวนำ[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
เพลต, โลหะที่ทำหน้าที่เป็นขั้วไฟฟ้าซึ่งเป็นตัวรับอิเล็กตรอน โดยทั่วไปเรียกว่าแอโนด สำหรับในหลอดสุญญากาศเรียกว่า เพลต[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
แรงเคลื่อนไฟฟ้า (ร.ค.ฟ.), พลังงานที่แหล่งกำเนิดไฟฟ้าให้ต่อหนึ่งหน่วยประจุไฟฟ้าซึ่งเคลื่อนที่ผ่านแหล่งกำเนิดนั้น โดยทั่วไปแรงเคลื่อนไฟฟ้ามีค่าใกล้เคียงความต่างศักย์ไฟฟ้าระหว่างขั้วไฟฟ้าของเซลล์ไฟฟ้า หรือเครื่องกำเนิดไฟฟ้าขณะที่วงจรเปิด ใช้ตัวย่อว่า e.m.f. แทนด้วยสัญลักษณ์ E มีหน่ว[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
หลอดไฟฟ้านีออน, หลอดไฟฟ้าซึ่งภายในบรรจุแก๊สนีออนความดันต่ำและมีขั้วไฟฟ้า 2 ขั้วที่ให้อิเล็กตรอนได้อย่างอิสระ เมื่อผ่านกระแสไฟฟ้าเข้าไปในหลอด อิเล็กตรอนจะถูกปล่อยออกมาจากขั้วไฟฟ้าและไปทำให้อะตอมของแก๊สนีออนรอบ ๆ ขั้วแคโทดเปล่งแสงสีแดงออกมา[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
แอโนด, 1. ขั้วไฟฟ้าที่มีปฏิกิริยาออกซิเดชันเกิดขึ้น ซึ่งเป็นขั้วไฟฟ้าลบในเซลล์กัลวานิก หรือเป็นขั้วไฟฟ้าบวกในเซลล์อิเล็กโทรไลต์ 2. ขั้วไฟฟ้าซึ่งเป็นตัวรับอิเล็กตรอนที่เกิดขึ้นภายในระบบ เช่น หลอดวิทยุชนิดไดโอดเป็นขั้วซึ่งมีศักย์ไฟฟ้าบวกเมื่อเทียบกับแคโทด เป็นต้น[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
ครึ่งเซลล์, ส่วนหนึ่งของเซลล์ไฟฟ้าเคมี ซึ่งประกอบด้วยขั้วไฟฟ้าขั้วหนึ่งจุ่มในอิเล็กโทรไลต์ ตัวอย่างเช่น โลหะทองแดงจุ่มอยู่ในสารละลาย CuSO4[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
แกรไฟต์, ผลึกรูปหนึ่งของธาตุคาร์บอนที่เกิดในธรรมชาติ โครงสร้างมีลักษณะเป็นแผ่น ๆ ซ้อนกัน นำไฟฟ้าได้ดีในทิศทางที่ขนานกับชั้นของผลึก มีจุดหลอมเหลว 3730 °C ใช้ประโยชน์ทำไส้ดินสอ ขั้วไฟฟ้า และสารหล่อลื่น เป็นต้น[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
ขั้วไฟฟ้าลบ, ขั้วตัวนำไฟฟ้าที่ต่อกับจุดที่มีศักย์ไฟฟ้าต่ำกว่าอีกขั้วหนึ่ง ซึ่งเรียกว่า ขั้วไฟฟ้าบวก[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
ขั้วไฟฟ้าขนาดเล็ก[การแพทย์]