การแผ่รังสีของดวงอาทิตย์[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
การแผ่รังสีเซเรนโกฟ, ปรากฏการณ์เรืองแสงเมื่ออนุภาคที่มีประจุเคลื่อนผ่านวัสดุโปร่งใส ด้วยความเร็วที่สูงกว่าความเร็วของแสงในวัสดุนั้น เช่น ในเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ หรือเครื่องฉายรังสีแกมมาแบบสระน้ำ จะเห็นการแผ่รังสีนี้เป็นแสงเรืองสีฟ้า พาเวล อเล็กเซวิช เซเรนโกฟ (Pavel Alexsejevich Cerenkov) เป็นคนแรกที่อธิบายปรากฏการณ์นี้[นิวเคลียร์]
การนับรังสีบรรจวบ, การนับรังสีที่เกิดจากเหตุการณ์การแผ่รังสีลักษณะเฉพาะตั้งแต่สองเหตุการณ์ขึ้นไป ซึ่งเกิดขึ้นพร้อมกันหรือเกิดในช่วงเวลาที่สัมพันธ์กัน การนับรังสีนี้เป็นวิธีหนึ่งเพื่อตรวจหาหรือจำแนกวัสดุกัมมันตรังสี และใช้เทียบมาตรฐานอัตราการสลายของวัสดุกัมมันตรังสีนั้น ซึ่งมีประโยชน์ในด้านการวิเคราะห์เชิงก่อกัมมันตภาพรังสี การถ่ายภาพทางการแพทย์ การศึกษารังสีคอสมิก และการวัดรังสีระดับต่ำ (ดู counter ประกอบ)[นิวเคลียร์]
เครื่องนับรังสี, อุปกรณ์ตรวจหาการแผ่รังสี หรือเครื่องสำรวจรังสี ซึ่งตรวจหาและวัดการแผ่รังสี จากการแตกตัวเป็นไอออน โดยแสดงเป็นผลรวมสะสม หรืออัตราการแผ่รังสี[นิวเคลียร์]
บริเวณรังสีสูงมาก, บริเวณที่มีการแผ่รังสีปริมาณสูงมากซึ่งอาจทำให้ผู้ที่เข้าไปปฏิบัติงานในบริเวณนั้นที่ระยะห่าง 1 เมตร จากต้นกำเนิดรังสี หรือ พื้นผิวที่รังสีทะลุผ่านได้รับปริมาณรังสีดูดกลืนเกิน 5 เกรย์ ในเวลา 1 ชั่วโมง การรับรังสีปริมาณสูงมากมักจะวัดในหน่วยของปริมาณรังสีดูดกลืน เนื่องจากให้ค่าการวัดที่แม่นยำกว่าการวัดปริมาณรังสีสมมูล, Example: [นิวเคลียร์]
เครื่องสำรวจรังสี, อุปกรณ์ชนิดเคลื่อนย้ายได้ ที่ใช้ตรวจหาและวัดรังสี เพื่อใช้สำรวจปริมาณรังสีในพื้นที่ต่างๆ หรือที่ตัวบุคคล เพื่อตรวจสอบการแผ่รังสี และ การเปื้อนสารกัมมันตรังสี[นิวเคลียร์]
ต้นกำเนิดรังสี, แหล่งกำเนิดรังสี, วัสดุหรือสิ่งใดสิ่งหนึ่งที่สามารถแผ่รังสีชนิดก่อไอออนออกมา ไม่ว่าจะเป็นการแผ่รังสีด้วยการแปลงนิวเคลียสของตัวเองหรือด้วยวิธีอื่นๆ เช่น สารกัมมันตรังสีและเครื่องกำเนิดรังสีชนิดต่างๆ[นิวเคลียร์]
ต้นกำเนิดรังสี, แหล่งกำเนิดรังสี, วัสดุหรือสิ่งใดสิ่งหนึ่งที่สามารถแผ่รังสีชนิดก่อไอออนออกมา ไม่ว่าจะเป็นการแผ่รังสีด้วยการแปลงนิวเคลียสของตัวเองหรือด้วยวิธีอื่นๆ เช่น สารกัมมันตรังสีและเครื่องกำเนิดรังสีชนิดต่างๆ, Example: [นิวเคลียร์]
เรดอน, ธาตุกัมมันตรังสีที่เป็นแก๊สที่หนักที่สุดในธรรมชาติ มีเลขเชิงอะตอมเท่ากับ 86 มีน้ำหนักเชิงอะตอมเท่ากับ 222 เป็นนิวไคลด์ลูกของเรเดียมในอนุกรมยูเรเนียม รังสีพื้นหลังในธรรมชาติเกิดจากการแผ่รังสีของเรดอนเป็นส่วนใหญ่[นิวเคลียร์]
ต้นกำเนิดรังสี, วัสดุหรือสิ่งใดสิ่งหนึ่งที่สามารถแผ่รังสีชนิดก่อไอออนออกมา ไม่ว่าจะเป็นการแผ่รังสีด้วยการแปลงนิวเคลียสของตัวเองหรือด้วยวิธีอื่นๆ เช่น สารกัมมันตรังสีและเครื่องกำเนิดรังสีชนิดต่างๆ[นิวเคลียร์]
วัสดุกัมมันตรังสี, วัสดุที่มีนิวไคลด์กัมมันตรังสีเป็นองค์ประกอบ ทำให้มีการแผ่รังสีชนิดก่อไอออนออกมา, Example: [นิวเคลียร์]
รังสีนิวเคลียร์, การแผ่รังสีของนิวเคลียส, รังสีในรูปของอนุภาคหรือคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ที่แผ่ออกมาจากนิวเคลียสของนิวไคลด์กัมมันตรังสี เช่น อนุภาคแอลฟา อนุภาคบีตา และรังสีแกมมา <br>(ดู radiation ประกอบ)</br>[นิวเคลียร์]
รังสี, การแผ่รังสี, พลังงานที่แผ่จากต้นกำเนิดรังสีผ่านอากาศหรือสสาร ในรูปของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า เช่น ความร้อน แสงสว่าง คลื่นวิทยุ รังสีเอกซ์ รังสีแกมมา หรือเป็นกระแสของอนุภาคที่เคลื่อนที่เร็ว เช่น รังสีคอสมิก รังสีแอลฟา รังสีบีตา อนุภาคนิวตรอน อนุภาคโปรตอน[นิวเคลียร์]
รังสีนิวเคลียร์, การแผ่รังสีของนิวเคลียส, รังสีในรูปของอนุภาคหรือคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ที่แผ่ออกมาจากนิวเคลียสของนิวไคลด์กัมมันตรังสี เช่น อนุภาคแอลฟา อนุภาคบีตา และรังสีแกมมา <br>(ดู radiation ประกอบ)</br>[นิวเคลียร์]
บริเวณรังสีสูง, บริเวณที่มีการแผ่รังสีปริมาณสูงซึ่งอาจทำให้ผู้ที่เข้าไปปฏิบัติงานในบริเวณนั้นที่ระยะห่าง 30 เซนติเมตรจากต้นกำเนิดรังสี หรือ พื้นผิวที่รังสีทะลุผ่านได้รับปริมาณรังสีสมมูลเกิน 1 มิลลิซีเวิร์ต ในเวลา 1 ชั่วโมง[นิวเคลียร์]
สถาปัตยกรรมกับการแผ่รังสีดวงอาทิตย์[TU Subject Heading]
การแผ่รังสี[TU Subject Heading]
เคมีการแผ่รังสี[TU Subject Heading]
ปริมาณการแผ่รังสี[TU Subject Heading]
การป้องกันการแผ่รังสี[TU Subject Heading]
การแผ่รังสีดวงอาทิตย์[TU Subject Heading]
การแผ่รังสีอุลตราไวโอเลต[TU Subject Heading]
การแผ่รังสี, รังสี[สิ่งแวดล้อม]
การแผ่รังสีอัลตราไวโอเลต, Example:การแผ่รังสีอัลตราไวโอเลต [สิ่งแวดล้อม]
เครื่องวัดเชิงนิวเคลียร์ หรือนิวเคลียร์เกจ, เป็นเครื่องวัดและควบคุมที่ทำงานโดยการกระตุ้นด้วยรังสีจากต้นกำเนิดรังสีชนิดปิดผนึก เครื่องวัดชนิดนี้ประกอบด้วยต้นกำเนิด และหัววัดรังสี บรรจุอยู่ในภาชนะที่แยกจากกัน หรือบรรจุอยู่ในภาชนะเดียวกัน โดยให้ลำรังสีผ่านออกมาทางช่องทางผ่าน หรืออุปกรณ์ควบคุมรังสีไปยังวัสดุที่ต้องการวัด ขณะเดียวกันหัววัดรังสีจะทำหน้าที่ตรวจวัดความเข้มของปริมาณรังสี หรือจำแนกชนิด และขนาดพลังงานของรังสี ซึ่งเป็นผลมาจากอันตรกิริยาระหว่างรังสีกับวัสดุนั้น ค่าที่วัดได้จะถูกส่งไปประมวลผลด้วยระบบไมโครโปรเซสเซอร์ เพื่อแสดงผลการตรวจสอบที่จะใช้เป็นตัวแปรในอุปกรณ์ควบคุมกระบวนการผลิตในขั้นตอนต่อไป เครื่องวัดเชิงนิวเคลียร์นี้ มีหลักการทำงานตามลักษณะการเกิดอันตรกิริยาระหว่างรังสีกับวัสดุ แบ่งเป็น 3 แบบ คือ เครื่องวัดแบบส่งผ่าน (Transmission gauge) และเครื่องวัดแบบกระตุ้นให้เกิดการแผ่รังสี (Reactive gauge)[พลังงาน]
ต้นกำเนิดรังสี (แหล่งกำเนิดรังสี), หมายถึง วัสดุหรือสิ่งหนึ่งสิ่งใดที่สามารถก่อให้เกิดการแผ่รังสีชนิดที่ก่อไอออนออกมา ไม่ว่าจะเป็นการแผ่รังสีด้วยการแปลงนิวเคลียสของตัวเองหรือด้วยวิธีอื่นๆ ตัวอย่างเช่น สารกัมมันตรังสีและเครื่องกำเนิดรังสีชนิดต่างๆ[พลังงาน]
การแผ่รังสีคอสมิก[การแพทย์]
พลังงานการแผ่รังสี, รังสีแม่เหล็กไฟฟ้ามีพลังงาน[การแพทย์]
เรดิออมิเตอร์ หรือเครื่องวัดการแผ่รังสี[อุตุนิยมวิทยา]
เครื่องวัดสมดุลย์ การแผ่รังสี[อุตุนิยมวิทยา]
โบลอมิเตอร์ หรือเครื่องวัดพลังงานการแผ่รังสี[อุตุนิยมวิทยา]
โบโลแกรม หรือกราฟวัดพลังงานการแผ่รังสี[อุตุนิยมวิทยา]
แอคทินอมิเตอร์ หรือเครื่องวัดความเข้มของพลังงานการแผ่รังสี[อุตุนิยมวิทยา]
การแผ่รังสี[อุตุนิยมวิทยา]
วิชาการแผ่รังสี[อุตุนิยมวิทยา]
การแผ่รังสีของ บรรยากาศ[อุตุนิยมวิทยา]
การแผ่รังสีของวัตถุ ดำ[อุตุนิยมวิทยา]
การแผ่รังสีคอร์ปัส คูลาร์ หรือรังสีคอร์ปัสคูลาร์[อุตุนิยมวิทยา]
การแผ่รังสีคอสมิค หรือรังสีคอสมิค[อุตุนิยมวิทยา]
การแผ่รังสีจากดวง อาทิตย์แบบแพร่กระจาย[อุตุนิยมวิทยา]
การแผ่รังสีของท้อง ฟ้า[อุตุนิยมวิทยา]
การแผ่รังสีโดยตรง จากดวงอาทิตย์[อุตุนิยมวิทยา]
การแผ่รังสีลงสู่โลก (รังสีทั้งหมด)[อุตุนิยมวิทยา]
การแผ่รังสีของโลก กลับลงมา[อุตุนิยมวิทยา]
การแผ่รังสีกลับลงมา[อุตุนิยมวิทยา]
การแผ่รังสีที่มีประ สิทธิผลสมดุลย์กัน[อุตุนิยมวิทยา]
ปริมารการแผ่รังสี[อุตุนิยมวิทยา]
พลังงานการแผ่รังสี[อุตุนิยมวิทยา]
การแผ่รังสีของโลก[อุตุนิยมวิทยา]
รังสีดวงอาทิตย์บน พื้นโลก หรือพลังงานการแผ่รังสีของดวงอาทิตย์[อุตุนิยมวิทยา]