รายงานการวิจัย[เทคโนโลยีการศึกษา]
บริการช่วยการวิจัย, Example:<p>บริการช่วยการวิจัย (Research service) เป็นบริการสำคัญหนึ่งของห้องสมุด จัดขึ้นเพื่อช่วยเหลือผู้ใช้ในการค้นคว้าข้อมูลเกี่ยวกับเรื่องที่กำลังศึกษาวิจัย ช่วยให้ผู้ใช้สามารถเข้าถึงแหล่งสารสนเทศได้อย่างรวดเร็วและสมบูรณ์ ซึ่งบรรณารักษ์จะติดตามข่าวสารความรู้ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่ศึกษาวิจัยนั้น รวบรวมข้อมูลรายการบรรณานุกรมจากหนังสือ วารสาร เอกสาร ทั้งที่เป็นสิ่งตีพิมพ์ และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เช่น ฐานข้อมูลออนไลน์ โดยรูปแบบการจัดบริการช่วยการวิจัย มีดังนี้ <p>1. บริการสืบค้นข้อมูลในเรื่องที่กำลังศึกษาวิจัย โดยรวบรวมรายการบรรณานุกรมจากทรัพยากรสารสนเทศต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง ซึ่งอาจจัดทำสาระสังเขปประกอบไว้ด้วยเพื่อช่วยประหยัดเวลาในการอ่านของผู้ใช้ <p>2. บริการจัดทำดรรชนี เพื่อเป็นคู่มือในการค้นหาสารสนเทศจากทรัพยากรห้องสมุด เช่น ดรรชนีวารสารที่ห้องสมุดบอกรับ <p>3. บริการจัดทำสาระสังเขป สาระสังเขปแต่ละรายการจะให้รายละเอียดทางบรรณานุกรมอย่างครบถ้วน ได้แก่ ผู้แต่ง ชื่อเรื่อง สถานที่พิมพ์ สำนักพิมพ์ ปีที่พิมพ์ พร้อมเนื้อหาสาระที่สำคัญโดยสรุป ทั้งนี้เพื่อเป็นการประหยัดเวลาของผู้ใช้ หากสนใจอ่านฉบับเต็มก็สามารถติดตามหาอ่านได้ง่าย <p>4. บริการแนะนำการเขียนอ้างอิงและบรรณานุกรม[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
รายงานการวิจัย, Example:คำว่า การวิจัย มาจากคำว่า Research มีรากศัพท์มาจาก Re + Search Re แปลว่า ซ้ำ Search แปลว่า ค้น ดังนั้น Research แปลว่า ค้นคว้าซ้ำแล้วซ้ำอีก ซึ่งน่าจะหมายถึง การค้นหาความรู้ความจริง ค้นแล้วค้นอีก ซึ่งจะทำให้ได้รับรู้ความรู้ ความจริงที่น่าเชื่อถือ ถูกต้อง เพราะมีข้อมูลที่เพียงพอต่อการสรุปเป็นความรู้ความจริงนั้น ๆ ความหมายของการวิจัยตามพจนานุกรม การวิจัย คือ การค้นคว้าเพื่อหาข้อมูลอย่างถี่ถ้วนตามหลักวิชา (พจนานุกรม. 2525) การวิจัยคือ กระบวนการหาความรู้ความจริงใหม่ ที่มีระบบแบบแผนตามหลักวิชา อาศัยหลักเหตุผล ที่รอบคอบ รัดกุม ละเอียดและเชื่อ ถือได้ และความรู้ความจริงนั้นจะนำไปเป็นหลักการ ทฤษฎี หรือ ข้อปฏิบัติที่ทำให้มนุษย์ได้รับรู้และนำไปใช้เพื่อให้สามารถดำรงชีวิต ด้วยความสงบสุขหรือป้องกันและหลีกเลี่ยงภัยอันตรายต่าง ๆ ได้ ความหมายของรายงานผลการวิจัย หรือเรียกสั้นๆว่า รายงาน หมายถึง เรื่องราวที่เป็นผลจากการค้นคว้าทางวิชาการ แล้วนำมาเรียบ เรียงอย่างมีระเบียบแบบแผน เรื่องราวที่นำมาเขียนรายงานต้องเป็นข้อเท็จจริง หรือความรู้ อันเกิดจากการรวบรวมข้อมูลด้วยวิธีการค้น คว้าที่เป็นระบบ มีลักษณะเป็นวิทยาศาสตร์ <p>วัตถุประสงค์ของรายงานผลการวิจัย <p>1. เพื่อเสนอข้อเท็จจริง หรือความรู้ ที่เกิดจากการศึกษาค้นคว้าอย่างเป็นระบบ อันเป็นแนวทางในการเสนอข้อมูลทางวิชาการแนวใหม่ หรือปรับปรุงข้อมูลเดิม <p>2. เพื่อพัฒนาความคิด ด้านความคิดริเริ่ม การวิเคราะห์ และการประมวลความคิดอย่างมีระบบระเบียบ ตลอดจนการถ่ายทอดความคิด เป็นภาษาเขียนที่ชัดเจน สละสลวย <p>3. เพื่อส่งเสริมการศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม ในการรวบรวมข้อมูลหรือประกอบการอ้างอิงอันเป็นวิธีการหาความรู้ด้วยตนเอง [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
การวิจัยการจำลองขนาดใหญ่[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
การวิจัยทางการเกษตร[เศรษฐศาสตร์]
การวิจัยทางเศรษฐกิจ[เศรษฐศาสตร์]
ไซโคลทรอน, เครื่องเร่งอนุภาคที่อนุภาคถูกเร่งด้วยสนามไฟฟ้าและถูกควบคุมด้วยสนามแม่เหล็ก ให้วิ่งวนเป็นวงออกไปคล้ายก้นหอย เมื่อได้ความเร็วที่ต้องการ อนุภาคจะถูกปล่อยให้ชนกับวัสดุที่ใช้เป็นเป้า เครื่องเร่งอนุภาคชนิดนี้ใช้ในการวิจัยฟิสิกส์มูลฐาน และการผลิตสารไอโซโทปรังสี ผู้ประดิษฐ์ คือ เออร์เนสต์ โอ. ลอว์เรนซ์ (Earnest O. Lawrence) ซึ่งได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ ในปี พ.ศ. 2482[นิวเคลียร์]
วัฏจักรเชื้อเพลิงนิวเคลียร์, การปฏิบัติการทุกขั้นตอนที่เกี่ยวข้องกับเชื้อเพลิงนิวเคลียร์ เริ่มตั้งแต่การทำเหมืองแร่ยูเรเนียมหรือทอเรียม ผ่านกระบวนการทางเคมีเพื่อให้มีความบริสุทธิ์ และการเสริมสมรรถนะยูเรเนียม การประกอบชุดเชื้อเพลิงนิวเคลียร์ การใช้ในเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ การแปรสภาพเชื้อเพลิงใช้แล้ว การวิจัยและพัฒนาใดๆ ที่เกี่ยวข้อง และการจัดการกากกัมมันตรังสี รวมถึงการเลิกดำเนินงานด้วย[นิวเคลียร์]
ทุนอุดหนุนการวิจัย[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
ศาสตราจารย์คลินิก, ตำแหน่งทางวิชาการที่สภามหาวิทยาลัยแต่งตั้งบุคลากรฝ่ายเวชกรรมที่มีความรู้ ความชำนาญในด้านการสอน การวิจัย การค้นคว้าทดลอง และวิธีบำบัดรักษาในภาคเวชปฏิบัติ ซึ่งมีคุณค่าทางวิชาการ[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
การวิจัยเชิงปฏิบัติการ, การวิจัยแบบมีส่วนร่วม เน้นการปฏิบัติและมีการร่วมมือ ใช้การทำงานเป็นกลุ่ม ผู้ร่วมวิจัยทุกคนมีส่วนสำคัญและมีบทบาทเท่าเทียมกันในทุกกระบวนการของการวิจัย ทั้งการเสนอความคิดเชิงทฤษฎี และการปฏิบัติ ตลอดจนการวางนโยบายการวิจัย[Assistive Technology]
การวิจัยเชิงปฏิบัติการ, การวิจัยแบบมีส่วนร่วม เน้นการปฏิบัติและมีการร่วมมือ ใช้การทำงานเป็นกลุ่ม ผู้ร่วมวิจัยทุกคนมีส่วนสำคัญและมีบทบาทเท่าเทียมกันในทุกกระบวนการของการวิจัย ทั้งการเสนอความคิดเชิงทฤษฎี และการปฏิบัติ ตลอดจนการวางนโยบายการวิจัย[Assistive Technology]
วัฏจักรเชื้อเพลิงนิวเคลียร์, การปฏิบัติการทุกขั้นตอนที่เกี่ยวข้องกับเชื้อเพลิงนิวเคลียร์ เริ่มตั้งแต่การทำเหมืองแร่ยูเรเนียมหรือทอเรียม ผ่านกระบวนการทางเคมีเพื่อให้มีความบริสุทธิ์ และการเสริมสมรรถนะยูเรเนียม การประกอบชุดเชื้อเพลิงนิวเคลียร์ การใช้ในเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ การแปรสภาพเชื้อเพลิงใช้แล้ว การวิจัยและพัฒนาใดๆ ที่เกี่ยวข้อง และการจัดการกากกัมมันตรังสี รวมถึงการเลิกดำเนินงานด้วย[นิวเคลียร์]
ความช่วยเหลือของรัฐบาลกลางด้านการวิจัย[TU Subject Heading]
การวิจัยแรงจูงใจ (การตลาด)[TU Subject Heading]
การเขียนโครงการวิจัยทางการศึกษา[TU Subject Heading]
การเขียนโครงการวิจัย[TU Subject Heading]
ทุนอุดหนุนการวิจัย[TU Subject Heading]
วัฏจักรเชื้อเพลิงนิวเคลียร์, การปฏิบัติการทุกขั้นตอนที่เกี่ยวข้องกับเชื้อเพลิงนิวเคลียร์ เริ่มตั้งแต่การทำเหมืองแร่ยูเรเนียมหรือทอเรียม ผ่านกระบวนการทางเคมีเพื่อให้มีความบริสุทธิ์ และการเสริมสมรรถนะยูเรเนียม การประกอบชุดเชื้อเพลิงนิวเคลียร์ การใช้ในเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ การแปรสภาพเชื้อเพลิงใช้แล้ว การวิจัยและพัฒนาใดๆ ที่เกี่ยวข้อง และการจัดการกากกัมมันตรังสี รวมถึงการเลิกดำเนินงานด้วย[นิวเคลียร์]
การวิจัยและพัฒนา, Example:การศึกษาวิจัยเพื่อให้ได้มาซึ่งความรู้ใหม่ๆ และการประยุกต์เอาความรู้ใหม่ๆ นั้นมาใช้เพื่อผลทางการค้า ความรู้ใหม่ๆ ที่ได้จากการวิจัยและพัฒนา อาจรวมอยู่ในผลิตภัณฑ์ชนิดใหม่ที่ผลิตออกมา หรืออาจจะออกมาในรูปผลิตภัณฑ์เดิมแต่มีคุณภาพดีขึ้นในราคาต่ำลง การวิจัยและพัฒนา[สิ่งแวดล้อม]
คณะกรรมการอาเซียนด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี " มีหน้าที่ดูแลความร่วมมือด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระหว่างประเทศสมาชิกอา เซียนและกับประเทศคู่เจรจาและองค์กรอื่น ๆ ประชุมปีละ 2 ครั้ง โดยแยกเป็นอนุกรรมการ 9 คณะ คือ (1) ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอาหาร (2) ด้านอุตุนิยมวิทยาและธรณีฟิสิกส์ (3) ด้านไมโครอิเล็กทรอนิกส์และเทคโนโลยีสารสนเทศ (4) ด้านวัสดุศาสตร์และเทคโนโลยี (5) ด้านเทคโนโลยีชีวภาพ (6) ด้านการวิจัยพลังงานนอกแบบ (7) ด้านวิทยาศาสตร์ทางทะเล (8) ด้านการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและทรัพยากรด้านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี (9) ด้านเทคโนโลยีอวกาศและการประยุกต์ "[การทูต]
ในสมัยก่อน เมื่อสังคมนานาชาติมีสมาชิกประเทศอยู่เพียงไม่กี่แห่ง และการเจริญความสัมพันธ์ระหว่างประเทศก็ไม่มีอะไรที่ยุ่งยากซับซ้อน ดังนั้น ประมุขของรัฐหรือหัวหน้าของรัฐบาลจะเป็นผู้บริหารกิจการต่างประเทศด้วยตนเอง แต่มาในปัจจุบันเป็นไปไม่ได้ที่จะกระทำเช่นนี้ ดังนั้นทุกวันนี้ รัฐบาลของประเทศเกือบจะทุกแห่งจะมีสำนักงานในระดับกระทรวงแยกออกต่างหาก เพื่อดำเนินกิจการต่างประเทศโดยเฉพาะสำนักงานนี้จะมีชื่อเรียกแตกต่างกันใน แต่ละประเทศ เช่นเรียกว่า The Ministry of (หรือ for) Foreign Affairs, The Ministry of External Affairs, The Department of State หรือ The Department of Foreign Affairs หรือ Gaimusho เป็นต้น ส่วนหัวหน้าสำนักงานหรือเจ้ากระทรวงนั้น จะเป็นบุคคลในคณะรัฐมนตรี และเรียกชื่อตำแหน่งต่างๆ กัน เช่น The Secretary of Foreign Affairs, The Minister of External Affairs, The Secretary of State หรือ Foreign Minister หรือ Foreign Secretary ตัวรัฐมนตรีนี้จะมีผู้ช่วย ซึ่งบางตำแหน่งเรียกว่า ปลัดกระทรวง (Under-Secretaries), ผู้ช่วยปลัดกระทรวง (Assistant Under-Secretaries) พร้อมด้วยคณะเจ้าหน้าที่หรือข้าราชการที่ได้ผ่านการฝึกอบรมมาแล้วงาน ของกระทรวงการต่างประเทศ โดยทั่วไปมักจะแบ่งออกเป็นสองฝ่าย ฝ่ายแรกเรียกว่าฝ่ายธุรการ (Home Service) ทำหน้าที่บริหารกิจการต่าง ๆ ภายในประเทศ ซึ่งเกี่ยวกันกับกิจการต่างประเทศ รวมทั้งการติดต่อเกี่ยวข้องกับคณะทูตานุทูต และฝ่ายที่สองเรียกว่า Foreign Service เป็นฝ่ายดำเนินงานเกี่ยวกับกิจการต่างประเทศ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศในต่างแดน อันมีสถานทูต สถานกงสุล และสำนักงานอื่น ๆ เป็นตัวแทน ประกอบด้วยข้าราชการฝ่ายการทูตและฝ่ายวิชาการ ซึ่งประจำทำงานในสถานเอกอัครราชทูต สถานกงสุลและสำนักงานระหว่างประเทศอื่น ๆ แต่ประเทศไทยเรายังมิได้แบ่งออกเป็นสองฝ่ายดังกล่าวตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงการต่างประเทศเป็นตัวกลาง ทำหน้าที่ติดต่อระหว่างประเทศ ส่วนหัวหน้าคณะทูตภายในนครหลวงของแต่ละประเทศจะทำการติดต่อใด ๆ ทั้งหมดกับกระทวงการต่างประเทศของรัฐผู้รับงานภายในกระทรวงการต่างประเทศ โดยทั่วไปจะแบ่งออกเป็นกรม กอง โดยถือตามเขตภูมิศาสตร์ต่าง ๆ เช่น กรมหรือกองการเอเชีย กรมการแอฟริกา กรมการอเมริกัน กรมการยุโรป และอื่น ๆ เป็นต้น นอกจากนั้น ยังมีกรมกองอื่น ๆ ที่ทำหน้าที่ด้านธุรการ และด้านการสื่อสารติดต่อ การประชุม การประสานงานความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ การคลัง การบริการในต่างประเทศ การสารนิเทศ การกฎหมาย การห้องสมุด การหนังสือเดินทาง การบุคลากร การพิธีการทูต การวิจัย การสนธิสัญญา การตรวจลงตรา (Visa) และการสหประชาชาติในปัจจุบันในหลาย ๆ ประเทศ ผู้ที่สมัครขอรับราชการในกระทรวงการต่างประเทศจะต้องมีคุณวุฒิตามที่กระทรวง กำหนด เช่น จะต้องผ่านการสอบไล่ ทั้งในภาคปากเปล่า และข้อเขียน ตลอดจนจะต้องปรากฏตัวต่อหน้าคณะกรรมการสอบไล่ (Board) ซึ่งจะเป็นฝ่ายให้คะแนนบุคลิกและคุณภาพส่วนตัว แล้วนำคะแนนไปบวกกับคะแนนสอบข้อเขียน ในบางแห่งต้องการให้ผู้สมัครสอบเข้ารับการฝึกอบรม และให้อยู่ในระหว่างการทดลองดูความประพฤติ (Probationary period) อีกด้วย[การทูต]
มหาวิทยาลัยสหประชาชาติ จัดตั้งขึ้นเมื่อ ค.ศ. 1973 ตั้งอยู่ในกรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น เป็นสถาบันอิสระที่บริหารปกครองตนเองภายในโครงร่างของสหประชาชาติ เรียกได้ว่าเป็นสถาบันการศึกษาที่มีจุดมุ่งหมายเพื่อส่งเสริมความร่วมมือ ระหว่างประเทศในเชิงวิชาการ ในอันที่จะมีส่วนช่วยเหลือเกื้อกูลต่อการแก้ปัญหาเร่งด่วนต่าง ๆ ของโลก มหาวิทยาลัยนี้มีลักษณะไม่เหมือนกับมหาวิทยาลัยอื่นทั่ว ๆ ไป ทั้งในด้านโครางสร้างและแบบอย่างการดำเนินงาน กล่าวคือ ไม่มีนิสิตนักศึกษาของตนเอง ไม่มีคณะในมหาวิทยาลัย และไม่มีบริเวณมหาวิทยาลัย (campus) ดำเนินงานภายในเครือข่ายของสถาบันวิจัยและวิชาการต่าง ๆ ทั่วโลก รวมทั้งศูนย์ฝึกและศูนย์วิจัยของตนเอง ทั้งยังรวมไปถึงผู้คงแก่เรียนเป็นรายบุคคลด้วย ทั้งนี้ เพื่อร่วมกันหาทางแก้ปัญหาต่าง ๆ ของโลกเป็นจุดสำคัญเรื่องที่มหาวิทยาลัยสหประชาชาติกำลังกังวลและสนใจอยู่ใน ขณะนี้ คือ เรื่องเกี่ยวกับค่านิยมของมนุษย์ทั่วโลก รวมทั้งความรับผิดชอบทั้งหลายที่มนุษย์ทั่วโลกจะพึงมี เรื่องทิศทางใหม่ ๆ ในภาวะเศรษฐกิจที่กลังปรากฏอยู่ในโลก รวมทั้งเรื่องความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และวิทยาการทางเทคโนโลยีเรื่องพลัง ที่ทำให้เกิดความผันแปรระหว่างพลเมืองของโลก ตลอดจนเรื่องสวัสดิภาพและความเป็นอยู่ของมนุษย์ มหาวิทยาลัยแห่งนี้ ยังมุ่งหมายที่จะช่วยเพิ่มพูนศักยภาพในการวิจัย และการฝึกในประเทศที่กำลังพัฒนาทั้งหลายด้วย และภายในมหาวิทยาลัยเองก็กำลังสนใจด้านวิจัยและการฝึกฝนในบางเรื่องโดยเฉพาะ[การทูต]
สถาบันเพื่อการฝึกอบรมและการวิจัยแห่งสหประชาชาติ[การทูต]
เครื่องไซโคลตรอน , เป็นเครื่องสำหรับเร่งอนุภาคที่มีประจุไฟฟ้า ผู้ประดิษฐ์คือ Earnest O. Lawrence ชาวอเมริกัน ซึ่งได้รับรางวัลโนเบล สาขาฟิสิกส์ในปี พ.ศ. 2482 ในเครื่องเร่งอนุภาคชนิดนี้ อนุภาคถูกเร่งด้วยสนามไฟฟ้า ในขณะเดียวกันก็ถูกควบคุมด้วยสนามแม่เหล็ก ให้วิ่งวนเป็นวงออกไป เมื่อได้ความเร็วที่เหมาะสม ก็จะถูกปล่อยให้ไปชนกับเป้าที่ต้องการ เครื่องเร่งนี้ใช้ในการวิจัยทางฟิสิกส์พื้นฐาน และการผลิตสารไอโซโทปรังสี[พลังงาน]
การวิจัยทางการตลาด[การบัญชี]
การวิเคราะห์เชิงปริมาณ, การวิเคราะห์หาปริมาณสาร, ปริมาณวิเคราะห์, วิเคราะห์แบบปริมาณ, การวิจัยเชิงปริมาณ, การทราบจำนวนวัตถุธาตุ, การวิเคราะห์ด้านปริมาณ, การตรวจวัดเชิงปริมาณ[การแพทย์]
การวิจัยทางชุมชน[การแพทย์]
การวิจัยเชิงวิเคราะห์[การแพทย์]
การตัดสินใจโดยอาศัยการวิจัย[การแพทย์]
การวิจัยการใช้ยา[การแพทย์]
การวิจัยทางระบาดวิทยา[การแพทย์]
อุปกรณ์การวิจัย, เครื่องมือ, อุปกรณ์[การแพทย์]
การวิจัยในรูปของการประเมินผล[การแพทย์]
Gene cloning, การทำสำเนายีนให้มีประมาณเพิ่มขึ้น การโคลนนิ่งชนิดนี้ไม่ได้เกี่ยวข้องโดยตรงกับการวิจัยเกี่ยวกับสเต็มเซลล์ ที่ได้จากตัวอ่อน (embryonic stem cell research:ESCR) ไม่ใช่การทำโคลนนิ่งตัวอ่อนทั้งตัว เพียงแต่อาจเป็นการสอดใส่ยืนที่ต้องการเข้าไปในตัวอ่อนหรือสเต็มเซลล์[ชีวจริยธรรม]
วิทยาศาสตร์ประยุกต์, วิชาหรือความรู้เกี่ยวกับการนำผลจากการวิจัยค้นคว้าทางวิทยาศาสตร์บริสุทธิ์มาประยุกต์ให้เกิดประโยชน์[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
ศูนย์บรรณนุกรมนานาชาติสำหรับการวิจัยเกี่ยวกับ[การแพทย์]
วิธีวิทยา, วิธีการวิจัย, วิธีการ, วิธีการวิเคราะห์, วิธีการวิจัย[การแพทย์]
เอกสารการวิจัยอย่างยาว, โมโนกราฟ[การแพทย์]