การรู้จำแบบโดยการมองเห็น[TU Subject Heading]
การมองเห็นและการเผชิญหน้า[TU Subject Heading]
อาการมองเห็นสิ่งของแต่ไม่รู้จักสิ่งของที่เห็น, แอ็กโนเสีย[การแพทย์]
การวัดเวลาของการมองเห็นในที่สลัว[การแพทย์]
การเสื่อมของการมองเห็นในที่มืด[การแพทย์]
การปรับการมองเห็นภาพในที่มืด[การแพทย์]
การเห็นซ้อนสอง, มองเห็นภาพเป็นสอง, เห็นภาพซ้อน, เห็นภาพซ้อนสอง, เห็นหนึ่งเป็นสอง, เห็นเป็น2ภาพ, ภาพซ้อน, ภาวะเห็นภาพซ้อน, มองเห็นวัตถุเป็น2ภาพ, กล้ามเนื้อของตาไม่ประสานกัน, การเห็นภาพเดี่ยวเป็นคู่, เห็นเป็น2ภาพซ้อนกัน, เห็นภาพซ้อน, การเห็นภาพซ้อน, มองเห็นสองภาพ, การมองเห็นเป็น2ภาพ[การแพทย์]
การมองเห็นสีเปลี่ยนไป[การแพทย์]
พิสัยการมองเห็น (ในทางอุตุนิยมวิทยา)[อุตุนิยมวิทยา]
พิสัยการมองเห็นทาง วิ่งสนามบิน[อุตุนิยมวิทยา]
ตาบอดสี, ความผิดปกติในการมองเห็นสีเนื่องจากไม่สามารถรับความรู้สึกจากแสงสีปฐมภูมิสีใดสีหนึ่งหรือทั้งสามสีได้[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
ออพติกโลบ, ส่วนหนึ่งของสมองส่วนกลาง ทำหน้าที่เป็นศูนย์ของการมองเห็น มีเส้นประสาทรับความรู้สึกจากนัยน์ตามายังสมองส่วนนี้[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
ทัศนศาสตร์, แขนงหนึ่งของวิชาฟิสิกส์ที่ศึกษาเกี่ยวกับแสงและการมองเห็น[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
มลพิษของทัศนียภาพ, สภาวะแวดล้อมที่ก่อให้เกิดความรำคาญ หรือ อาจเกิดอันตรายต่อการมองเห็น เช่น ป้ายโฆษณาที่ติดไม่เป็นระเบียบหรือขาดการบำรุงรักษา หมอกควัน แสงที่จ้าเกินควร เป็นต้น[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
เส้นประสาทสมองคู่ที่ 2, เส้นประสาทที่ทำหน้าที่รับความรู้สึกเกี่ยวกับการมองเห็นจากนัยน์ตาไปสู่ออปติกโลบ[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
การมองเห็นภาพ, การใช้จินตนาการ[การแพทย์]
ภาษาที่เกิดจากการมองเห็น[การแพทย์]
การสูญเสียการมองเห็นไปทันทีทันใดโดยไม่มีอาการเจ[การแพทย์]