การค้นหาแบบทวิภาคหมายถึง วิธีการค้นหาโดยใช้ระบบแบ่งครึ่งข้อมูลทั้งหมดออกเป็นสองส่วน การค้นหาตัวที่ต้องการจะต้องเลือกหาจากข้อมูลทีละส่วน โดยใช้วิธีเดิมคือแบ่งเป็นสองส่วนย่อย หากพบในส่วนที่หนึ่ง ก็ไม่ต้องเสียเวลาหาในอีกส่วนหนึ่งอีกต่อไป
การเข้าถึงโดยตรงหมายถึง การเข้าถึงข้อมูลโดยใช้เวลาในการค้นหาข้อมูลได้เร็วเท่ากันหมด ไม่ขึ้นกับตำแหน่งที่เก็บ หมายความว่า ไม่ว่าข้อมูลจะเก็บอยู่ที่ส่วนใดของสื่อที่ใช้บันทึก หัวอ่าน (read head) ก็จะเจาะตรงลงไปอ่านได้เลย เช่น การอ่านข้อมูลจากจานบันทึก ซึ่งผิดกับการอ่านข้อมูลจากแถบบันทึก (tape) ที่ต้องอ่านเรียงไปตามลำดับตั้งแต่ต้นเทปไปจนกว่าจะถึงข้อมูลที่ต้องการทุกครั้ง ทำให้ช้ากว่ากันมากดู indirect access เทียบ
(ดิเรค'ทะรี) n. หนังสือรวบรวมชื่อและที่อยู่ของบุคคลและหน่วยงานต่าง ๆ , แผ่นป้ายแสดงชื่อหน่วยงานและชั้นที่อยู่ของอาคารธุรกิจหลังใหญ่, คณะกรรมการ. adj. เกี่ยวกับการชี้ทาง, เกี่ยวกับการแนะแนว, Syn.list สารบบหมายถึง การแบ่งจานบันทึก โดยเฉพาะจานบันทึกที่มีความจุมาก ๆ ที่สามารถบรรจุแฟ้มข้อมูลได้หลายร้อยแฟ้ม ออกเป็นส่วน ๆ เพื่อใช้เก็บแฟ้มข้อมูลเป็นกลุ่ม ๆ เพื่อสะดวกในการค้นหา จานบันทึกทุก ๆ จานจะมีสารบบอย่างน้อยหนึ่งสารบบ เป็นสารบบเริ่มต้นเรียกว่า " สารบบราก " root directory เราอาจใช้คำสั่งสร้างสารบบ หรือสารบบย่อยเพิ่มขึ้น เพื่อใช้เก็บแฟ้มประเภทเดียวกันหรือกลุ่มเดียวกันเอาไว้ด้วยกัน ก็ได้ การเก็บแฟ้มข้อมูลด้วยวิธีนี้ทำให้หาง่ายขึ้น
(ไฟดฺ) { found, found, finding, finds } vt. พบ, ประสบ, หา, ได้รับ, จัดหา, ไปถึง, ตัดสิน, ชี้ขาด, บรรลุ, ก่อให้เกิด. vi. รู้สึก, เห็นว่า, ตัดสิน, ชี้ขาด, ลงความเห็น., See Also:find oneself รู้ถึงความสามารถของตนและรู้วิธีใช้มัน. -Phr. all found ทุกสิ่งทุกอย่างที่ต้อง หาเป็นคำสั่งหนึ่งที่ให้ตรวจค้นหาข้อมูลที่ต้องการในแฟ้มใดแฟ้มหนึ่ง ถ้าเป็นโปรแกรมประมวลผลคำ word processing เราอาจค้นหาได้เป็นคำ ๆ ไป ถ้าเป็นโปรแกรมฐานข้อมูล database management เราจะสามารถค้นหาไปทีละระเบียน record บางทีอาจใช้หมายถึงการค้นหาแฟ้มข้อมูลว่าเก็บไว้ในสารบบ directory ใด เป็นคำสั่งหนึ่งในระบบวินโดว์ด้วย อยู่ใต้เมนู File มีความหมายเหมือน search
(ไฟ'ดิง) n. การค้นหา, การตรวจสอบ, การค้นพบ, สิ่งที่ค้นพบ, คำพิพากษา, คำวินิจฉัย, See Also:findings n., pl. เครื่องมือช่าง, เครื่องมือเครื่องใช้เล็ก ๆ น้อย, Syn.result, answer, verdict
(ฮันทฺ) vt. vi. ล่า, ล่าสัตว์, ค้นหา, ตามหา, -n. การล่า, การล่าสัตว์, บริเวณที่ตามล่า, การค้นหา, See Also:huntable adj. huntedly adv.
(ฮัน'ทิง) n. การล่า, การล่าสัตว์, การค้นหา adj. เกี่ยวกับการล่าสัตว์, เกี่ยวกับการล่าหรือค้นหา
หมายถึง การเข้าถึงข้อมูลโดยใช้เวลาในการค้นหาข้อมูลได้เร็วเท่ากันหมด ไม่ขึ้นกับตำแหน่งที่เก็บ หมายความว่า ไม่ว่าข้อมูลจะเก็บอยู่ที่ส่วนใดของสื่อที่ใช้บันทึก หัวอ่าน (read head) ก็จะเจาะตรงลงไปอ่านได้เลย เช่น การอ่านข้อมูลจากจานบันทึก ซึ่งผิดกับการอ่านข้อมูลจากแถบบันทึก (tape) ที่ต้องอ่านเรียงไปตามลำดับตั้งแต่ต้นเทปไปจนกว่าจะถึงข้อมูลที่ต้องการทุกครั้ง ทำให้ช้ากว่ากันมากมีความหมายเหมือน direct access
(ลุค) { looked, looking, looks } vi. ดู, มอง, เห็น, เพ่ง, สนใจ, ชำเลือง, โน้มเอียง, ปรากฎ, ดูเหมือน, เผชิญหน้า vt. ดู, มอง, ปรากฎ, แสดงออก, ระวัง, พิจารณา, ตรวจสอบ. n. การดู, การมอง, การเห็น, การชำเลือง, การค้นหา, ลักษณะ. -Phr. (look after คอยจ้องดู, ดูแล) -Phr. (look down on (upon) ดูถูกเฟหยีหยาม)
แถบบันทึกแม่เหล็กหมายถึง แถบที่ทำด้วยพลาสติกฉาบออกไซด์ของโลหะ มีลักษณะคล้ายเทปหรือแถบบันทึกเสียง ม้วนอยู่บนวงล้อ มีหลายขนาด เป็นต้นว่า ขนาดยาว 2, 400 ฟุต 1, 200 ฟุต และ 600 ฟุต ตัวเทปกว้าง ? นิ้ว บันทึกข้อมูลได้ประมาณ 800-1, 600 ตัวอักษรต่อความยาวของเนื้อเทป 1 นิ้ว เทปหรือแถบบันทึกนี้สามารถเป็นได้ทั้งหน่วยรับข้อมูลและหน่วยแสดงผล คอมพิวเตอร์จะมีเครื่องมือที่ใช้อ่านและบันทึกข้อมูลลงในเทป เรียกว่า หน่วยขับเทป (tape drive) เราสามารถบันทึกข้อมูลใหม่ลงทับบนข้อมูลเก่าได้เหมือนการบันทึกเพลง ข้อมูลเดิมจะหายไปโดยอัตโนมัติ ข้อเสียของเทปก็คือ การค้นหาข้อมูลทำได้ช้า เพราะต้องเริ่มตั้งแต่ต้นเทปเสมอ ถ้าข้อมูลอยู่ปลายเทป ก็จะเสียเวลานาน การค้นหาแบบนี้เรียกว่าการเข้าถึงแบบเรียงลำดับ (sequential access) ซึ่งตรงข้ามกับการเข้าถึงแบบสุ่ม (direct access) ของจานบันทึก
ซิสเต็มเจ็ดหมายถึง ระบบปฏิบัติการของเครื่องคอมพิวเตอร์แมคอินทอช ซิสเต็มเจ็ดไม่เหมือนกับเอ็มเอสดอส (MS DOS) ของคอมพิวเตอร์พีซีทีเดียวนัก ทั้งนี้เพราะระบบปฏิบัติการของเครื่องแมคอินทอชนั้น จะสร้างเป็นรหัสเอาไว้ในรอม (ROM) เกือบทั้งสิ้น และเน้นในเรื่องตัวประสานการค้นหา (Finder interface) มาก
หน่วยเก็บชั่วคราวหมายถึง หน่วยความจำที่จัดไว้สำหรับเก็บข้อมูลที่ต้องการใช้เป็นการชั่วคราว ทั้งนี้เพื่อความสะดวกและรวดเร็วในการค้นหาและเข้าถึง (access) เพื่อจะได้นำไปประมวลผลได้เร็วขึ้นไปอีก โดยปกติแล้ว จะมีอยู่เฉพาะในสื่อที่เก็บแบบเข้าถึงโดยตรงได้ (direct access storage) เป็นต้นว่า จานบันทึก (disk) ส่วนแถบบันทึก (tape) ก็มีบ้าง แต่น้อยมาก