กลศาสตร์ของไหลเชิงคำนวณ[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
การโก่ง (กลศาสตร์)[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
การเปลี่ยนรูป (กลศาสตร์)[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
กลศาสตร์[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
กลศาสตร์ของไหล[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
กลศาสตร์ท้องฟ้า[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
กลศาสตร์สถิติ[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
กลศาสตร์หิน[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
พลังงาน (กลศาสตร์)[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
ความลาดเอียง (ปฐพีกลศาสตร์)[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
กลศาสตร์ท้องฟ้า[TU Subject Heading]
การหน่วง (กลศาสตร์)[TU Subject Heading]
การเปลี่ยนรูป (กลศาสตร์)[TU Subject Heading]
กลศาสตร์ของไหล[TU Subject Heading]
กลศาสตร์การแตก[TU Subject Heading]
การสึกหรอทางกลศาสตร์[TU Subject Heading]
กลศาสตร์[TU Subject Heading]
กลศาสตร์ประยุกต์[TU Subject Heading]
กำลัง (กลศาสตร์)[TU Subject Heading]
กลศาสตร์ของหิน[TU Subject Heading]
แรงเฉือน (กลศาสตร์)[TU Subject Heading]
ความลาดเอียง (ปฐพีกลศาสตร์)[TU Subject Heading]
ปฐพีกลศาสตร์[TU Subject Heading]
ซีวกลศาสตร์, กลศาสตร์ชีวภาพ[การแพทย์]
กลศาสตร์ของการหายใจ[การแพทย์]
กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน, กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน กฎที่ว่าด้วยการเคลื่อนที่ของวัตถุซึ่งเป็นพื้นฐานของวิชากลศาสตร์มี 3 ข้อ คือ กฎข้อ 1 วัตถุจะรักษาสภาพอยู่นิ่งหรือสภาพเคลื่อนที่อย่างสม่ำเสมอในแนวตรง นอกจากจะมีแรงลัพธ์ซึ่งมีค่าไม่เป็นศูนย์มากระทำ(กฎนี้เรียกอีกชื่อหนึ่งว่ากฎความเฉื่อย[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
กลศาสตร์, วิชาฟิสิกส์แขนงหนึ่งที่ศึกษาเกี่ยวกับผลของแรงที่กระทำต่อวัตถุซึ่งอยู่นิ่งหรือกำลังเคลื่อนที่ กลศาสตร์แบ่งเป็น 2 สาขาวิชา คือ พลศาสตร์ และ สถิตยศาสตร์[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
กลศาสตร์ควอนตัม, ระบบของวิชากลศาสตร์ซึ่งได้รับการพัฒนาจากทฤษฎีควอนตัม และใช้อธิบายสมบัติต่าง ๆ ของอะตอมและโมเลกุล[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
จลนศาสตร์, กลศาสตร์แขนงหนึ่งที่ศึกษาเกี่ยวกับการเคลื่อนที่ของวัตถุ ซึ่งได้แก่ความสัมพันธ์ระหว่างระยะทาง เวลา ความเร็ว ความเร่ง โดยไม่พิจารณาถึงแรงที่มากระทำต่อวัตถุ[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
พลศาสตร์, กลศาสตร์แขนงหนึ่งที่ศึกษาเกี่ยวกับการเคลื่อนที่ของวัตถุและแรงที่กระทำต่อวัตถุ[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
ฟิสิกส์แบบฉบับ, วิชาฟิสิกส์ซึ่งเป็นที่ยอมรับกันมาเป็นเวลานาน โดยมีรากฐานจากวิชากลศาสตร์ของนิวตัน[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
สถิตศาสตร์, สถิตศาสตร์ วิชากลศาสตร์แขนงหนึ่งที่ศึกษาเกี่ยวกับแรงกระทำต่อวัตถุและวัตถุยังคงอยู่ในสภาพนิ่งขณะแรงกระทำ[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
ทฤษฎีทางกลศาสตร์[การแพทย์]