กรดไขมันจำเป็น[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
กรดไขมันไม่อิ่มตัว[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
กรดไขมัน[TU Subject Heading]
กรดไขมันไม่อิ่มตัว[TU Subject Heading]
กรดไขมัน โอเมกา-3[TU Subject Heading]
จำนวนกรดไขมันระเหย หมายถึง ปริมาณของกรดไขมันระเหยที่เกิดขึ้นโดยการไฮโดรไลซิสของคาร์โบไฮเดรตในเซรุ่ม ของน้ำยาง กรดเหล่านี้ประกอบด้วยกรดแอซิติก กรดฟอร์มิก และกรดพรอพิโอนิก เป็นส่วนใหญ่ หรือหมายถึง จำนวนกรัมของโพแทสเซียมไฮดรอกไซด์ที่ทำให้กรดไขมันระเหยทั้งหมดในน้ำยางที่ มีปริมาณของแข็งทั้งหมด 100 กรัม เป็นกลาง ค่า VFA No. เป็นค่าที่บ่งชี้ถึงสถานะการเสียสภาพ ถ้าค่า VFA No. สูง แสดงว่าน้ำยางถูกเชื้อจุลินทรีย์เข้าทำลายมาก เกิดกรดไขมันระเหยมาก ทำให้สูญเสียสภาพการเป็นคอลลอยด์ เกิดการบูดเน่าและจับเป็นก้อนได้[เทคโนโลยียาง]
อะมีนของกรดไขมัน[การแพทย์]
คะตาบอลิสมของกรดไขมัน[การแพทย์]
กรดไขมันคอนเดนซ์[การแพทย์]
ส่วนของกรดไขมัน[การแพทย์]
กรดไขมัน, ตัวนำพวกไขมัน, แอซิดของไขมัน[การแพทย์]
กรดไขมันไม่อิ่มตัว[การแพทย์]
กรดไขมันไซโครโพรพีนอยด์[การแพทย์]
กรดไขมันที่มี2แขนคู่[การแพทย์]
กรดไขมันที่รับประทานได้[การแพทย์]
กรดไขมันที่จำเป็น, กรดไขมันจำเป็น, กรดไขมันที่จำเป็นแก่ร่างกาย, กรดไขมันชนิดจำเป็น[การแพทย์]
การขาดกรดไขมันที่จำเป็น[การแพทย์]
กรดไขมันอิสระ, รูปไขมันของกรดอิสระ[การแพทย์]
กรดไขมันที่มีกัมมันตภาพรังสี[การแพทย์]
กรดไขมันที่มีแขนคู่1คู่, กรดไขมันไม่อิ่มตัวชนิดโมโน[การแพทย์]
กรดไขมันที่ไม่จำเป็นแก่ร่างกาย[การแพทย์]
กรดไขมันที่มีมากกว่า1แขนคู่, กรดไขมันไม่อิ่มตัวสูง, กรดไขมันไม่อิ่มตัว, กรดไขมันไม่อิ่มตั[การแพทย์]
กรดไขมันไม่อิ่มตัวสูง, กรดไขมันไม่อิ่มตัวชนิดโพลี, กรดไขมันที่มีมากกว่า1แขนคู่, กรดไขมันไม่อิ่มตัว[การแพทย์]
กรดไขมันชนิดอิ่มตัว, กรดไขมันที่อิ่มตัว, กรดไขมันอิ่มตัว[การแพทย์]
กรดไขมันที่มี4แขนคู่[การแพทย์]
กรดไขมันที่มี3แขนคู่[การแพทย์]
กรดไขมันที่ไม่อิ่มตัว, กรดไขมันไม่อิ่มตัว, ไขมันที่ไม่อิ่มตัว[การแพทย์]
กรดไขมันที่ระเหย, กรดไขมันที่ระเหยได้[การแพทย์]
กรดปาล์มิติก, กรดไขมันชนิดหนึ่ง สูตรเคมีคือ C15H31COOH ผลึกสีขาวละลายได้ในแอลกอฮอล์และอีเทอร์ มีอยู่ในน้ำมันปาล์ม ไขปลาวาฬ เป็นต้น[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
ไขมัน, เอสเทอร์ชนิดหนึ่งที่เกิดจากกรดไขมันกับกลีเซอรอล มีสถานะเป็นของแข็งที่อุณหภูมิห้อง เป็นสารอาหารที่จำเป็นต่อสิ่งมีชีวิตจำพวกสัตว์[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
น้ำมัน, เอสเทอร์ชนิดหนึ่งที่เกิดจากกรดไขมันกับกลีเซอรอล มีสถานะเป็นของเหลวที่อุณหภูมิห้อง เป็นสารอาหารที่จำเป็นสำหรับสิ่งมีชีวิตจำพวกสัตว์[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
ลิเพส, เอนไซม์ที่ลำไส้เล็กสร้างขึ้นสำหรับย่อยไขมันให้แตกตัวเป็นกรดไขมันและกลีเซอรอล[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
กรดไขมัน, กรดอินทรีย์ชนิดหนึ่งซึ่งเป็นองค์ประกอบสำคัญในอาหารพวกน้ำมันหรือ ไขมัน ถ้ามีพันธะระหว่างอะตอมของคาร์บอนในโมเลกุลเป็นพันธะเดี่ยวทั้งหมดจะเรียกว่า กรดไขมันอิ่มตัว ถ้ามีพันธะคู่หรือพันธะสามระหว่างอะตอมของคาร์บอนจะเรียกว่า กรดไขมันไม่อิ่มตัว[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
กรดไขมันอิ่มตัว, กรดไขมันชนิดที่พันธะระหว่างคาร์บอนกับคาร์บอนในโมเลกุลเป็นพันธะเดี่ยว เช่น กรดสเตียริก(C17H35COOH)[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
กรดไขมันไม่อิ่มตัว, กรดไขมันชนิดที่มีพันธะระหว่างคาร์บอนกับคาร์บอนในโมเลกุลเป็นพันธะคู่อย่างน้อยหนึ่งพันธะ เช่น กรดโอลิอิก(C17H33COOH) เป็นต้น[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
กรดสเตียริก, กรดไขมันชนิดหนึ่งสูตรเคมีคือ C17H35COOH เป็นผลึกสีขาว ไม่ละลายน้ำ แต่ละลายได้ในแอลกอฮอล์และอีเธอร์ พบในไขมันพืชและสัตว์ ใช้เป็นส่วนประกอบในการทำยา เครื่องสำอาง เป็นต้น[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
ไข, เอสเทอร์ชนิดหนึ่งที่เกิดจากกรดไขมันกับแอลกอฮอล์ที่ไม่ใช่กลีเซอรอล มีอยู่ทั้งในสถานะของเหลว เช่น ไขปลาวาฬ ในสถานะของแข็ง เช่น ขี้ผึ้ง เทียนไข เป็นต้น[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
สบู่, เป็นเกลือของโซเดียมหรือโพแทสเซียมของกรดไขมัน เช่น กรดสเตียริก กรดปาล์มมิติกหรือกรดไอเลอิก ซึ่งเตรียมจากปฏิกิริยาระหว่างเบสกับไขมันและอาจเติมสารปรุงแต่งให้มีสีและกลิ่นที่ต้องการ ใช้ชำระล้างหรือการซักฟอก เสื้อผ้า[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
เกลือน้ำดี, สารที่ตับสร้างขึ้นมีอยู่ในน้ำดี สารนี้จะทำให้ก้อนไขมันมีอนุภาคเล็กลงเพื่อทำปฏิกิริยากับลิเพสได้ง่ายขึ้น ปฏิกิริยานี้จะได้กรดไขมัน และกลีเซอรอลที่ร่างกายนำไปใช้ประโยชน์ได้[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
กรดไขมันที่จำเป็น, กรดลิโนลีอิก, กรดลิโนเลอิก, กรดไลโนเลอิค, กรดลิโนลีอิค[การแพทย์]