อาย
I
อิน เฟ้น เถอะ ดึ
invented
เออะ
a
เขิ่ม ผึ ยู้ เถ่อ (ร) แล้ง เกวอะ จึ
computer language
...
รายการคำศัพท์
I
  • /อาย//AY1//ˈaɪ/
  • (ไอ) พยัญชนะอังกฤษตัวที่ 9เป็นสระด้วย[hope]
  • คำสรรพนามเอกพจน์บุรุษที่1: ผม, ดิฉัน, ข้าพเจ้า, หน, กระหม่อม[lex2]
  • พยัญชนะภาษาอังกฤษตัวที่ 9[lex2]
  • เสียงสระในภาษาอังกฤษ[lex2]
invent
  • /อิน เฟ้น ถึ//IH2 N V EH1 N T//ˌɪnvˈent/
  • (อินเวนทฺ') vt. ประดิษฐ์,สร้างสรรค์,เนรมิต,คิดค้นเอง,เสกสรร,กุเรื่อง. ###SW. inventible,inventable adj. ###S. discover,devise,create,lie,falsify[hope]
  • แต่งเรื่อง: กุ, สร้างเรื่องขึ้นมา[lex2]
  • สร้างสรรค์: ประดิษฐ์[lex2]
  • (vt) ประดิษฐ์,เนรมิต,คิดขึ้น,แต่ง[nontri]
a
  • /เออะ//AH0//ə/
  • /เอ//EY1//ˈeɪ/
  • (เอ) 1. พยัญชนะและสระตัวแรกในภาษาอังกฤษรูปตัว A, ชั้นหนึ่ง,อันดับหนึ่ง,สัญลักษณ์ธาตุ argon (the first letter) - อังสตรอมยูนิต abbr. assesssment,artery 2. อักษร A ในระบบเลขฐานสิบหก มีค่าเท่ากับ 10 ในเลขฐานสิบ[hope]
  • หนึ่ง (คำนำหน้าคำนามเพื่อแสดงว่าคำนามนั้นๆ ไม่ชี้เฉพาะ)[lex2]
  • อักษรตัวแรกในภาษาอังกฤษ[lex2]
  • ใช้เป็นคำเติมหน้าเพื่อเน้นความหมาย[lex2]
  • ของ[lex2]
  • บน[lex2]
  • จาก[lex2]
  • ไปยัง: ไปสู่[lex2]
  • ออก[lex2]
  • ไม่ (ย่อมาจาก an-): ปราศจาก, ใช้นำหน้าเสียงพยัญชนะ[lex2]
computer language
  • ภาษาคอมพิวเตอร์หมายถึงภาษาที่ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ หรือใช้เพื่อสื่อสารให้คอมพิวเตอร์เข้าใจ และสามารถปฏิบัติตามคำสั่งได้ โดยปกติเราแบ่งภาษาที่ใช้กับคอมพิวเตอร์ออกเป็น 2 ชนิด คือ1. ภาษาเครื่อง (machine language) คำสั่งที่เขียนด้วยภาษานี้เครื่องจะรับรู้และปฏิบัติตามได้ทันที ผู้ออกแบบคอมพิวเตอร์แต่ละแบบก็จะคิดแบบของภาษาที่ใช้กับเครื่องนั้น ๆ ขึ้นเป็นภาษาเฉพาะของเครื่องลักษณะของภาษาประเภทนี้จะเป็นตัวเลขฐานต่าง ๆ ขึ้นอยู่กับการออกแบบ ฉะนั้นจึงเป็นการยากสำหรับผู้เขียนโปรแกรม ซึ่งต้องเรียนรู้รายละเอียดของเครื่องนั้น ๆ ก่อน จึงจะใช้ภาษาได้2. ภาษาแนวมนุษย์ (human oriented language) หมายถึงภาษาที่มนุษย์เข้าใจ (แต่เครื่องไม่เข้าใจ) เนื่องจากภาษาเครื่องยุ่งยากและสับสน จึงมีการคิดภาษาหนังสือซึ่งมนุษย์เราเคยชินกันอยู่แล้วขึ้น แล้วใช้ตัวแปล (translator) แปลเป็นภาษาเครื่องอีกทีหนึ่ง เครื่องจึงจะดำเนินการได้ ภาษาแนวมนุษย์นี้แบ่งออก ได้เป็น 2 ระดับ คือ2.1 ภาษาระดับต่ำ (low - level language) เช่น ภาษาแอสเซมบลี (Assembly) 2.2 ภาษาระดับสูง (high - level language) เช่นภาษาฟอร์แทรน (FORTRAN) โคบอล (COBOL) ลักษณะของภาษาระดับสูงนี้ ได้มีการประดิษฐ์ขึ้นให้เหมาะสมกับงานเฉพาะอย่าง เช่น ภาษาฟอร์แทรน เหมาะกับงานทางคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และงานวิจัย ภาษาโคบอลและอาร์พีจี (RPG) เหมาะกับงานด้านธุรกิจ เป็นต้น นอกจากนี้ ก็ยังมีภาษาอื่นที่เป็นที่นิยมอีกมาก ภาษาเหล่านี้จะใช้ได้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนมาก เพราะในคอมพิวเตอร์ จะมีตัวแปล (translator) ซึ่งมีหน้าที่คอยแปลภาษาแนวมนุษย์ให้เป็นภาษาเครื่องอีกทีหนึ่ง การใช้ภาษาแนวมนุษย์นี้มีข้อดีคือ ใช้ง่ายกว่า มีความผิดพลาดน้อย แก้ไขตอนหนึ่งตอนใดได้ง่ายกว่า และเขียนได้สั้นกว่า เพราะบางทีคำสั่งเพียงคำสั่งเดียวก็มีผลเท่ากับหลาย ๆ คำสั่งของภาษาเครื่อง แต่ภาษาเครื่องก็มีส่วนดี ตรงที่ใช้เวลาของเครื่องน้อยกว่า เพราะไม่ต้องเสียเวลาในการแปล[hope]